วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2552

ภาวะเศรษฐกิจโลกและผลกระทบไทย

ภาวะเศรษฐกิจโลกปี 2550 และผลกระทบต่อไทย(World Economy in 2007 and its effects on Thailand)

เรียนมิตรสหายที่เคารพรัก ปีพ.ศ. 2550 เศรษฐกิจโลกชะลอตัว จะกระทบการส่งออกไทย ภาครัฐควรเร่งพิจารณางบประมาณ ปีพ.ศ. 2550 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และสนับสนุนการสำรวจตลาดใหม่
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) ได้ประมาณการเศรษฐกิจโลกปี พ.ศ.2550 ไว้ว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 ซึ่งชะลอตัวลงจากปี พ.ศ.2549 ที่ประมาณการว่าจะขยายตัว ร้อยละ 5.1 และมีความเป็นไปได้ที่จะเติบโตเพียงร้อยละ 3.25 หรือต่ำกว่านั้น หากตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐชะลอตัวรุนแรงกว่าที่คาด
นอกจากนี้ ไอเอ็มเอฟยังประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2550 จะขยายตัวเพียงร้อยละ 2.9 ลดลงจากร้อยละ 3.4 ในปีพ.ศ.2549 ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของ เจพี มอร์แกน ที่ชี้ว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ เริ่มถดถอย เนื่องจากตลาดอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเคยเป็นปัจจัยที่ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวกำลังอยู่ในช่วงขาลง ส่วนอัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับสูงเพื่อป้องกันภาวะเงินเฟ้อที่ยังน่าเป็นห่วง
ในขณะที่เศรษฐกิจสหภาพยุโรป (อียู) ขยายตัวถึงร้อยละ 3.7 ในไตรมาส 2 ปี พ.ศ.2549 ซึ่งคาดว่าเป็นจุดที่สูงสุด และต่อจากนี้จะเริ่มชะลอตัว โดยในปี พ.ศ.2550 คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวเพียงร้อยละ 2.5 ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายการคลังที่เข้มงวด เพื่อแก้ไขปัญหาขาดดุลงบประมาณและหนี้ภาครัฐที่อยู่ในระดับสูง และการปรับขึ้นดอกเบี้ยที่จะเริ่มส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจช่วงปลายปี พ.ศ.2549 ต่อเนื่องไปจนถึงปี พ.ศ.2550
ส่วนญี่ปุ่นที่เป็นประเทศคู่ค้าที่สำคัญอีกประเทศหนึ่ง กำลังพิจารณาลดเพดานอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูงสุดที่ผู้ปล่อยสินเชื่อจะเก็บได้จากร้อยละ 29.2 เหลือร้อยละ 15–20 ซึ่งอาจทำให้นักลงทุนต่างชาติไม่พอใจและถอนการลงทุนกลับ ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงอาจจะทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ.2550 ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 1 จากเดิมที่ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.5
เศรษฐกิจของจีนมีแนวโน้มชะลอตัวเช่นกัน เนื่องจากเศรษฐกิจจีนขยายตัวสูงถึงร้อยละ 11.3 ในไตรมาส 2 ของปีนี้ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงมาก ทำให้ธนาคารกลางของจีนต้องปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้น เพื่อควบคุมเศรษฐกิจให้ขยายตัวช้าลง และป้องกันภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ที่อาจเกิดขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัวลง จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทย เนื่องจากเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงจะบั่นทอนกำลังซื้อของผู้บริโภคในประเทศคู่ค้า ซึ่งหมายถึงอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออกจากประเทศไทยที่ลดลงด้วย การส่งออกจึงอาจไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปีหน้า
ผมจึงเห็นว่า การจัดงบประมาณขาดดุลในปี พ.ศ.2550 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจึงสามารถทำได้ โดยไม่กระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมากนัก เนื่องจากแนวโน้มเงินเฟ้อปีหน้าค่อนข้างทรงตัว และหนี้สาธารณะที่ยังอยู่ในกรอบความยั่งยืนทางการคลัง นอกจากนี้ภาครัฐควรสนับสนุนการสำรวจตลาดใหม่ๆ เนื่องจากภาครัฐมีหลายช่องทางให้ทำได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าภาคเอกชน เช่น การให้สถานทูตไทยในต่างประเทศทำหน้าที่หาช่องทางตลาด การจัดทำเว็บไซต์ของสถานทูตให้เป็นแหล่งข้อมูลการค้าในต่างประเทศ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าเพียงบางประเทศ และกระจายความเสี่ยงในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจโลกชะลอตัว


ภาวะเศรษฐกิจโลกเศรษฐกิจโลกป 2550 คาดวาจะมีทิศทางเขาสูชวงชะลอตัวลง ตามการชะลอของเศรษฐกิจสหรัฐฯ โดยในไตรมาสที่ 1/2549 คาดวาเศรษฐกิจของสหรัฐฯ จะมีการขยายตัวรอยละ 2.4 ลดลงจากไตรมาสที่ 4/2549 ที่มีการขยายตัวรอยละ 2.5 โดยเปนผลมาจากภาวะขาลงของตลาดที่อยูอาศัย อุตสาหกรรมการผลิต คาเงินดอลลารที่คาออนตัวลงและการบริโภคซึ่งการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ นั้น คาดวาจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกไมมากนัก เนื่องจากเศรษฐกิจของเอเชียสวนใหญยังคงตองพึ่งพิงการสงออกสินคาไปยังสหรัฐฯโดยคาดการวาเศรษฐกิจของเอเชียในป 2550 จะมีแนวโนมขยายตัวอยูที่ระดับรอยละ 8.8 โดยมีจีนและอินเดียเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญ ซึ่งคาดวาจะมีการขยายตัวอยูที่ระดับรอยละ 10.0 และ 8.4 ตามลําดับ และสําหรับเศรษฐกิจของอาเซียนในป 2550 คาดวาจะมีการขยายตัวอยูที่รอยละ 5.5 ตารางที่ 1 ภาวะเศรษฐกิจโลกรายการหนวย2546E2547E2548E2549E2550Eการขยายตัวของปริมาณการคาโลก% 5.3 10.6 7.4 9.2 7.0 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก% 4.1 5.3 4.9 5.4 4.9 - สหรัฐอเมริกา% 2.5 3.9 3.2 3.3 2.2 - สหภาพยุโรป% 0.8 2.1 1.4 2.6 2.3 - ญี่ปุน% 1.8 2.3 1.7 2.7 2.9 - เอเชีย% 8.4 8.8 9.2 9.4 8.8 - จีน% 9.5 9.5 10.4 10.7 10.0 - อินเดีย% 7.4 7.3 9.2 9.2 8.4 - อาเซียน% 5.4 5.8 5.2 5.4 5.5 ที่มา: IMF, WORLD ECONOMIC OUTLOOK, April 2007 ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 2
ภาวะเศรษฐกิจและแนวโนมของประเทศไทยไตรมาสที่ 2ภาคเกษตรกรรมGDP ภาคเกษตรกรรมไตรมาสที่ 1 ยังคงมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 1.60 แมวาผลผลิตสินคาเกษตรจะมีปริมาณลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากเปนชวงที่ผลผลิตสวนใหญหมดฤดูกาลเก็บเกี่ยว จึงทําใหมีปริมาณผลผลิตออกสูตลาดลดลงโดยเฉพาะสินคาขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสําปะหลัง ในขณะที่ปจจัยทางดานราคายังคงมีการขยายตัวในระดับที่สูงไตรมาสที่ 1ยังคงมีการขยายตัว จากปริมาณผลผลิตที่ลดลงตามฤดูกาล แตระดับราคายังคงทรงตัวในระดับสูงโดยเฉพาะกลุมพืชอาหารประเด็นที่นาสนใจ- ภัยแลงในป 50 รุนแรงนอยกวาปที่แลว จากปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในหลายพื้นที่ และสงผลกระทบตอGDP ภาคเกษตรเพียงเล็กนอยจากผลผลิตที่ไดรับความเสียหาย ขณะที่ระดับราคาโดยรวมที่ยังสูงอยู- ปริมาณสุกรลนตลาดยังคงเปนปญหาสําหรับเกษตรกรสงผลใหราคาตกต่ําตั้งแตปลายปที่ผานมา คาดวาระดับราคาจะเริ่มดีขึ้นในชวงไตรมาสที่ 4 ของป จากนโยบายชวยเหลือของภาครัฐGDP ภาคเกษตร ณ ราคาปฐาน(2531)75,27893,8971.600.98020,00040,00060,00080,000100,000120,000140,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q2-10-505101520GDP ภาคเกษตร (พันลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแนวโนมไตรมาสที่ 2 สําหรับ GDP ภาคเกษตรในชวงไตรมาสที่ 2 คาดวาจะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมา แตอยางไรก็ตามยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยูคือประมาณรอยละ 0.98 หรือมีมูลคาประมาณ75,278 พันลานบาท ซึ่งเปนผลมาจากระดับราคาสินคาเกษตรที่คาดวาจะเริ่มชะลอตัวลงจากความตองการที่ลดลงของตลาดภายในประเทศและตลาดโลกแตยังคงทรงตัวในระดับสูงขณะที่ปริมาณผลผลิตสินคาเกษตรลดลงตามฤดูกาล และอัตราการขยายตัวไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนักจากชวงเดียวกันของปที่ผานมาระดับราคามีแนวโนมขยายตัวลดลงแตยังคงทรงตัวในระดับสูง ขณะที่การขยายตัวของปริมาณผลผลิตไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนักจากชวงเดียวกันของปที่ผานมาศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 3
ภาคอุตสาหกรรมGDP ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 1จะสามารถขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 4.8 เชนเดียวกันคาดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เฉลี่ยในไตรมาสแรกคาดวาจะอยูที่ระดับ180.8 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 8.23 เมื่อเทียบกับในชวงไตรมาสแรกของปที่ผานมา และในสวนของการใชกําลังการผลิต (Capacity Utilization) ภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยในชไตรมาสที่ 1 ยังสามารถขยายตัวในระดับที่ดี สืบเนื่องมาจากคําสั่งซื้อสินคาภาคอุตสาหกรรมจากตางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องวงไตรมาสแรกคาดวาจะอยูที่ระดับ 75.0 อยูในระดับที่ใกลเคียงกับการใชกําลังการผลิตในไตรมาสแรกของปที่ผานมาที่อยูที่ระดับ 75.2 ปจจัยเกื้อหนุน- ยอดคําสั่งซื้อตางประเทศยังอยูในระดับที่ดี สงผลใหอุตสาหกรรมไทยซึ่งพึ่งพอการสงออกในระดับสูงสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่องปจจัยบั่นทอน- สถานการณความไมแนนอนภายในประเทศสงผลใหประชาชนชะลอการใชจายลง- ตนทุนภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งราคาน้ํามันมีความผันผวนในระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งระดับราคาน้ํามันในไตรมาสที่ 1 มีทิศทางการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องGDP ภาคอุตสาหกรรม ณ ราคาปฐาน(2531)405,768418,0254.84.60100,000200,000300,000400,000500,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q202468101214GDP ภาคอุตสาหกรรม (พันลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)MPI และ Capacity Utilization8010012014016018020045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q250Q15060708090MPICapacity Utilizationแนวโนมไตรมาสที่ 2 สําหรับ GDP ภาคอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 คาดวาจะชะลอตัวลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 โดยคาดวาจะขยายตัวประมาณรอยละ 4.2-4.7 สืบเนื่องจากความตองการสินคาภายในประเทศที่ชะลอตัวลงเนื่องจากสถานการณทางการเมืองภายในประเทศยังมีความไมแนนอนในระดับสูง นอกจากนี้ระดับราคาน้ํามันซึ่งเปนตนทุนสําคัญอยางหนึ่งของภาคอุตสาหกรรมยังคงมีความไมแนนอนในระดับสูง โดยระดับราคาน้ํามันภายในประเทศในไตรมาสที่ 1 มีทิศทางการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง รวมถึงสถานการณคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้นคอนขางมากเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นในภูมิภาคอาจสงผลกระทบตอการสงออกของภาคอุตสาหกรรมของไทย จึงทําใหภาคอุตสาหกรรมไทยมีแนวโนมชะลอตัวลงอยางตอเนื่องในไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 2 ภาคอุตสาหกรรมชะลอตัวลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 เนื่องมาจากความตองการสินคาภายในประเทศชะลอตัวลง และระดับราคาน้ํามันยังคงทรงตัวอยูในระดับสูงศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 4
MPI Capacity Utilization อุตสาหกรรมที่มีแนวโนมดี และอุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังในไตรมาสที่ 1อุตสาหกรรม%yoy % yoy ในการพิจารณาจะพิจารณาจากอุตสาหกรรมที่มีทิศทางการปรับตัวของคาดัชนีในดานตาง ๆ ในระดับที่คอนขางดีและแยนั้นในที่นี้จะพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม การใชกําลังการผลิต โดยอุตสาหกรรมที่มีแนวโนมดีในชวงไตรมาสที่ 1ประกอบดวย อุตสาหกรรมเครื่องหนังอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส อุตสาหกรรมสูบ อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมรองเทา โดยอาจกลาวไดวาในไตรมาสที่ 1 อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกสยังคงเปนกลุมที่สรางความเติบโตใหแกภาคอุตสาหกรรมมากที่สุดเนื่องจากความตองการสินคาจากตางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องอุตสาหกรรมเดน39.68 18.7 อุตสาหกรรมเครื่องหนังอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส25.31 2.6 25.97 10.0 อุตสาหกรรมยาสูบ11.68 9.5 อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม8.15 0.6 อุตสาหกรรมรองเทาอุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร-25.34 -16.6 ในขณะที่อุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังในไตรมาสที่ 1ประกอบดวยอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบ และอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยเฉพาะอยางอุตสาหกรรมสิ่งทอซึ่งถือเปนอุตสาหกรรมที่มีน้ําหนักมากที่สุดในการคํานวณคา MPI ที่ตองเผชิญการแขงขันจากสินคาราคาถูกจากประเทศจีน และอุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบที่แมการสงออกจะยังคงทําไดอยางตอเนื่องแตการบริโภคภายในประเทศปรับตัวลดลงอยางชัดเจนอุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบ-4.50 -3.0 -4.37 0.0 อุตสาหกรรมสิ่งทอที่มา : จากการคํานวณอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสยังคงเปนอุตสาหกรรมหลักในการสรางความเติบโตของภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 1 เนื่องจากสินคาในกลุมนี้ยังคงสงออกไดในระดับที่ดี ในขณะที่อุตสาหกรรมสิ่งทอเผชิญการแขงขันที่รุนแรงจากสินคาจากประเทศจีน และอุตสาหกรรมยานยนตปริมาณการบริโภคภายในประเทศลดลงคอนขางมากศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 5
ภาคการทองเที่ยวไตรมาสที่ 1ยังคงมีการขยายตัว จากนักทองเที่ยวชาวยุโรป และตะวันออกกลาง สวนรายไดเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากจํานวนนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติไตรมาสที่ 1 คาดวามีจํานวน 3.8 ลานคน หรือขยายตัวรอยละ 4.01 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันกับปกอน แมวาจะเกิดเหตุระเบิดในชวงปใหมปนี้รวมถึงความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตก็ตาม แตก็ยังคงมีนักทองเที่ยวเขามาประเทศไทยเพิ่มขึ้นบาง โดยกลุมนักทองเที่ยวที่ลดลงคือนักทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชีย สวนนักทองเที่ยวยุโรป และอเมริกานั้นไมไดรับผลกระทบเนื่องจากมีการวางแผนจะมาเมืองไทยอยูแลว สวนรายไดจากการทองเที่ยวคาดวาประมาณ 1.43 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 12.11เทียบกับชวงเดียวกันกับปกอนประเด็นที่นาสนใจ- เหตุการณระเบิดสงผลกระทบตอจํานวนนักทองเที่ยวโดยรวมนอย กลุมที่ไดรับผลกระทบคือ ญี่ปุนมาเลเซีย สิงคโปร- รายไดจากการทองเที่ยวชะลอตัว จากภาวะเศรษฐกิจโลก และคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้นจํานวนนักทองเที่ยวและรายได300.787376.7331,441.361150.79010020030040045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q20500100015002000จํานวน: พันคนรายได: รอยลานบาทที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และการคํานวณแนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวา จํานวนนักทองเที่ยวมีประมาณ 3.1 ลานคนหรือขยายตัวรอยละ 6.79 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันกับปกอนแตต่ํากวาการขยายตัวของปกอน สวนรายไดคาดวาประมาณ1.22 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 11.19 เทียบกับชวงเดียวกันกับปกอน อาจเปนเพราะภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังไมมีปจจัยใดมากระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จึงทําใหคนมีความระมัดระวังในการใชจายมากขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหภาคการทองเที่ยวของไทยตองเรงประชาสัมพันธ รวมถึงควรมีการจัดโปรโมชั่นตางๆเพื่อกระตุนใหนักทองเที่ยวตางชาติมีความสนใจมากขึ้น เพราะการทองเที่ยวเปนแหลงรายไดตางชาติที่สําคัญของไทยอีกชองทางหนึ่งเดียวกันของปที่ผานมาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติยังคงมีการขยายตัวแตอยูในระดับต่ําเชนเดียวกับรายไดจากการทองเที่ยวที่มีการขยายตัวในระดับต่ําเชนกันศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 6
ดานการบริโภคการบริโภคภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป 2550 มีมูลคา 548 พันลานบาท ลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมาเล็กนอย แตยังมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 2.47 ซึ่งมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนมีการขยายตัวประมาณรอยละ -1.5 การใชกระแสไฟฟาขยายตัวประมาณรอยละ -2.6 ปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งขยายตัวประมาณรอยละ -24.3รถจักรยานยนตขยายตัวประมาณรอยละ -22.5 นอกจากนั้นตัวชี้วัดที่ชี้ใหเห็นวาการบริโภคมีแนวโนมลดลงคือภาษีมูลคาเพิ่มที่ยังคงมีการขยายตัวแตในอัตราที่ลดลงคือประมาณรอยละ 4.8 ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนสวนใหญยังมีความกังวลใจกับสถานการณตางๆภายในประเทศ ไมวาจะเปนระดับราคาน้ํามันที่ยังคงอยูในระดับสูง สถานการณทางการเมือง เปนตนไตรมาสที่ 1 ยังคงมีการขยายตัว แตมีแนวโนมลดลง เนื่องจากประชาชนสวนใหญยังมีความกังวลใจกับสถานการณตางๆภายในประเทศการบริโภค0200,000400,000600,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q202468การบริโภค (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวาการบริโภคภายในประเทศ ไตรมาสที่ 2 จะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ 2.1 ประกอบกับดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจทุกรายการมีสัญญาณปรับตัวลดลงในชวง 2 เดือนแรกของป2550 สะทอนใหเห็นวาความเชื่อมั่นของผูบริโภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจกําลังปรับตัวสูทิศทางขาลงอีกครั้ง หากไมมีปจจัยบวกมาสรางความเชื่อมั่นใหเกิดขึ้นอยางรวดเร็วหรือปจจัยลบเขามาเพิ่มเติมอยางตอเนื่องการบริโภคภายในประเทศยังคงมีแนวโนมขยายตัวลดลง เปนผลจากประชาชนขาดความมั่นใจในสถานการณเศรษฐกิจภายในประเทศ และรายไดที่จะไดรับในอนาคต จากปญหาตางๆศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 7
ดานการลงทุนการลงทุนภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป 2550 มีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 1.1 ซึ่งมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยมีทิศทางสอดคลองกับปริมาณจําหนายปูนซีมเมนตที่มีอัตราการเจริญเติบโตประมาณรอยละ -6.4 และปริมาณการจําหนายรถยนตเชิงพาณิชยในประเทศที่มีทิศทางการขยายตัวลดลงเชนกันคือประมาณรอยละ -28.5 ซึ่งเปนผลมาจากขาดความเชื่อมั่นสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันไตรมาสที่ 1 มีการขยายตัวลดลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ผานมา เปนผลมาจากนักลงทุนขาดความเชื่อมั่นสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยการลงทุน0100,000200,000300,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q2-50510152025การลงทุน (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)แนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวาการลงทุนภายในประเทศ ไตรมาสที่ 2 จะมีอัตราการขยายตัวทรงตัวอยูในระดับที่ลดลง และมีระดับลดลงจากชวงไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ -0.5 เนื่องจากแนวโนมอัตราการใชกําลังการผลิตโดยรวมและดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในชวงไตรมาสที่ 2 ที่ยังคงมีอัตราการขยายตัวในระดับที่ต่ํา ทั้งนี้เนื่องจากนักลงทุนยังมีความกังวลใจเกี่ยวกับสถานการณตางๆภายในประเทศรวมถึงสถานการณของตลาดโลกที่สงผลกระทบ เชน ระดับราคาน้ํามันที่ยังคงทรงตัวในระดับที่สูงการลงทุนภายในประเทศมีแนวโนมขยายตัวลดลงอีกซักระยะ เปนผลจากนักลงทุนขาดความมั่นใจในสถานการณเศรษฐกิจภายในประเทศศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 8
ภาคการคลังในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ รัฐบาลมีการใชจายมากกวารายไดที่จัดเก็บได ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากงบประมาณผูกพันในป 2549 ประกอบกับในชวงไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ รัฐบาลเริ่มที่จะมีการเรงเบิกจายมากขึ้น เพื่อกระตุนภาวะเศรษฐกิจ1. รายไดรัฐบาล (Government Revenue)1. รายไดนําสงคลัง ในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ 2550 รัฐบาลมีรายไดนําสงคลังขยายตัวรอยละ6.8 คิดเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 597,075 ลานบาท โดยรายไดที่จัดเก็บเพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน ไดแก ภาษีเบียร ภาษียาสูบ ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีสุรา ภาษีน้ํามันภาษีธุรกิจเฉพาะ และภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา นอกจากนั้นการนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ 2550 ก็สูงกวาชวงเดียวกันปที่ผานมามาก2. รายจายรัฐบาล การเบิกจายของรัฐบาลในชวง6 เดือนแรกของปงบประมาณ2550 ขยายตัวรอยละ2.6 คิดเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 737,447 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นจากการเบิกจายของรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกจํานวน 139,900 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ23.4 3. ดุลการคลังรัฐบาลตามกระแสเงินสด จากรายไดนําสงคลังและการเบิกจายเงินงบประมาณของรัฐบาลขางตนสงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 140,372 ลานบาทและเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุลจํานวน49,061 ลานบาท ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลจากการจายเงินเหลื่อมจายจากปงบประมาณ 2549 และการถอนเงินฝากนอกงบประมาณเพื่อโอนใหทองถิ่นของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ทําใหดุลการคลัง(ดุลเงินสด) ขาดดุล189,434 ลานบาท โดยรัฐบาลชดเชยการขาดดุลดวยการใชเงินคงคลังและการออกพันธบัตรและตั๋วสัญญาใชเงิน6 เดือนแรกเปลี่ยนแปลงปงบประมาณ 2550 ปงบประมาณ 2550 จํานวนรอยละ1. รายไดนําสงคลัง597,075.07 559,248.09 37,826.98 6.8 2. รายจาย737,447.30 718,466.36 18,980.94 2.6 2.1 จากงบประมาณปปจจุบัน664,082.14 632,577.36 31,504.78 5.0 2.2 จากงบประมาณปกอน73,365.16 85,889.00 -12,523.84 -14.6 3. ดุลเงินงบประมาณ-140,372.23 -159,218.27 18,846.04 -11.8 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ-49,061.47 84,524.04 -133,585.51 -158.0 5. ดุลเงินสดกอนกู(3+4) -189,433.70 -74,694.23 -114,739.47 153.6 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล105,260.00 - - - 7. ดุลเงินสดหลังกู (5+6)-84,173.70 -74,694.23 -9,479.47 12.7 ที่มา:สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมบัญชีกลางศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 9
ภาคการคาระหวางประเทศ-10,000.000.0010,000.0020,000.0030,000.0040,000.0045Q145Q346Q146Q347Q147Q348Q148Q349Q149Q350Q149Q350Q1Trade balanceExports (f.o.b.)Imports (c.i.f.)ไตรมาสที่ 1 การสงออกขยายตัวในระดับทึ่ดี ในขณะที่การนําเขาในไตรมาสที่ 1 ขยายตัวในระดับต่ํา สงผลใหคาดวาดุลการคาในไตรมาสที่ 1 จะสามารถเกินดุลไดอยางตอเนื่องการสงออกโดยรวมของประเทศในชวงไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 33,408 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 13.02 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมาการนําเขาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 30,731 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 2.55 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมา สืบเนื่องมาจากการชะลอการนําเขาสินคาในไตรมาสแรกตามวัฎจักรธุรกิจ รวมถึงความไมแนนอนในภาวะเศรษฐกิจของประเทศประชาชนชะลอการจับจายใชสอยผูประกอบการกิจการบางประเภทมีการชะลอการผลิตลงปจจัยเกือหนุน- สาเหตุที่การสงออกในไตรมาสที่ 1 ขยายตัวในระดับที่ดีเนื่องจากความตองการสินคาจากจางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องปจจัยบั่นทอน- ภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาชะลอตัวจากมูลคาการสงออกและการนําเขาขางตนสงผลใหดุลการคาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะเกินดุลการคาประมาณ 2,677 ลาน- การแข็งคาของคาเงินบาทเมี่อเทียบกับเงินตราสกุลอื่นในภูมิภาคอาจเปนอุปสรรคตอการสงออกบาง-ระดับราคาน้ํามันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นแนวโนมไตรมาสที่ 2 การสงออกในไตรมาสที่ 2 ป คาดวามูลคาการสงออกในไตรมาสที่ 2 จะชะลอตัวลงจากชวงไตรมาสที่ 1 โดยคาดวาการสงออกในไตรมาสที่ 2 จะมึมูลคาทั้งสิ้นประมาณ33,140 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวอยูที่ระดับประมาณรอยละ 6.91เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาการนําเขาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 36,729 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ12.58 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมา สืบเนื่องมาจากฐานการนําเขาในไตรมาสแรกที่อยูในระดับต่ํา และการนําเขาสินคาประเภทวัตถุดิบและสินคาทุนเพื่อเตรียมรองรับการผลิตในชวงครึ่งหลังของปสงผลใหมีการขยายตัวของการนําเขาในระดับสูงดุลการคาในไตรมาสที่ 2 ป 2550 คาดวาจะขาดดุลการคาประมาณ 3,589 ลานเหรียญสหรัฐศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 10
ภาคการเงินอัตราดอกเบี้ยอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลมีแนวโนมของการปรับตัวลดลงจากชวงปลายป 2549 โดยอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลไตรมาสที่ 1 ของป 2550 อยูที่ รอยละ 4.69 ลดลงจากไตรมาสที่ 4 ป2549 ที่อยูที่รอยละ 4.89 ทั้งนี้เนื่องจากภาวะเงินเฟอในประเทศไทยมีแนวโนมของการลดลงอยางตอเนื่อง ประกอบกับธนาคารแหงประเทศไทยตองการกระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะทางดานการลงทุน และการบริโภคภายในประเทศ สวนอัตราดอกเบี้ยชนิดอื่นๆ ยังคงมีเนวโนมของการปรับตัวลดลงเชนเกียวกันกับอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบายของภาครัฐ0123456JanAprJulOctJanAprJulOctJan1 วัน14 วันไตรมาสที่ 1 อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลปรับตัวลดลงเกือบรอยละ 0.5 ซึ่งถือเปนการสงสัญญาณชัดของธนาคารแหงประเทศไทยที่ตองการกระตุนเศรษฐกิจผานนโยบายการเงินที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมอัตราดอกเบี้ยในไตรมาสที่ 2 ป 2550พบวา มีแนวโนมของการปรับลดลงอยางตอเนื่องโดยคาดวาในไตรมาสที่ 2 ธนาคารแหงประเทศจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบาย R/P 1 วัน ลงอีกรอยละ 0.5-1.00 (โดยรวมที่ไดการปรับลดไปแลวรอยละ 0.5 ในเดือนเมษายน) เพื่อที่จะกระตุนใหเกิดการบริโภค และการลงทุนของภาคเอกชน สวนอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยคาดวาในไตรมาสที่ 2 อาจจะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูลงรอยละ0.50-0.75 ทั้งนี้เนื่องจากธนาคารพาณิชยมีสภาพคลองสวนเกินไตรมาสที่ 2คาดวา อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลจะปรับตัวลดลงอีกรอยละ0.75-1.00 และคาดวาอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยปรับตัวลดลงอีกรอยละ 0.50-0.75ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 11
ปริมาณเงินฝากและเงินใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชยไทยเงินฝาก : ปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณิชยในชวงเดือน มกราคม และกุมภาพันธ ยังคงมีอัตราการขยายตัวไดอยางตอเนื่อง ถึงแมจะมีแนวโนมของการชะลอตัวลงก็ตาม แตในเดือนกุมภาพันธนั้นปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณิชยมีแนวโนมของการขยายตัวในอัตราเรง ทั้งนี้เปนผลมาจากการที่ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจมีการฝากเงินเนื่องจากกระทรวงการคลังเบิกจายเงินงบประมาณที่คางจายใหกับองคการปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) และภาคครัวเรือนที่มีการ Lock in อัตราดอกเบี้ยเงินฝากจากการคาดการณวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะลดลงตอไปอัตราการขยายตัวของสินเชื่อและเงินฝากของระบบธนาคารพาณิชยไทย (หนวย: รอยละ) 2.191.693.944.7051015ม.ค. 2548มี.ค. 2548พ.ค.2548ก.ค.2548ก.ย. 2548พ.ย. 2548ม.ค. 2549มี.ค. 2549พ.ค.2549ก.ค.2549ก.ย.2549พ.ย. 2549ม.ค. 2550สินเชื่อเงินฝากที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยสินเชื่อ : ปริมาณสินเชื่อที่ธนาคารพาณิชยมีแนวโนมของการรชะลอตัวตั้งแตชวงครึ่งปหลังของป 2549 เปนตนมาทั้งนี้เนื่องจากสถานการณทางดานเศรษฐกิจ การเมืองของประเทศไทยมีความไมแนนอนจากสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศ ทําใหความตองการที่จะลงทุนของภาคเอกชนหรือความระมัดระวังในการปลอยสินเชื่อของธนาคารพาณิชยยังคงมีอยางตอเนื่อง สงผลใหอัตราการขยายตัวของเงินใหสินเชื่อขยายตัวเพียงรอยละ 1.69 ในเดือนกุมภาพันธ ชะลอตัวลงจากเดือนมกราคมที่ขยายตัวรอยละ 2.19 สําหรับในชวงไตรมาส 2 ของป 2550 ของปนี้คาดวาอัตราการขยายตัวของเงินฝากและสินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชยยังคงชะลอตัวอยางตอเนื่องตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว คาดวาอัตราการขยายตัวของเงินฝากจะยังคงทรงตัวอยูในระดับรอยละ 3-4 ตอเนื่อง สวนทางดานของสินเชื่อคาดวาจะยังคงทรงตัวอยูในระดับต่ําอยางตอเนื่อง ตามภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้งรอความชัดเจนในดานของแนวนโยบายและสถานการณทางการเมือง2549 2549 ม.ค. ก.พ. สินเชื่อ5,895,015 5,837,101 5,849,710 เงินฝาก 6,620,609 6,749,525 6,823,041 ไตรมาสที่ 1 ปริมาณเงินฝากและปริมาณสินเชื่อยังคมมีอัตราการขยายตัวไดอยางตอเนื่องแตมีสัญญาณของการชะลอตัวลง ทั้งนี้เปนผลเนื่องจากสถานการณความไมเชื่อมั่นไตรมาสที่ 2 ปริมาณการใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชยยังคงมีการชะลออยางตอเนื่องทั้งนี้เนื่องจากธนาคารพาณิชยยังไมแนใจในสถานการณทางดานเศรษฐกิจของประเทศไทย แตอยางไรก็ตามการออกมาตรการกระตุนเศรษฐกิจโดยใหแบงครัฐเปนผูนําการปลอยสินเชื่อมากขึ้น ก็อาจสงผลใหสินเชื่อขยายตัวไดในระดับหนึ่งศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 12
อัตราแลกเปลี่ยนคาเงินบาทตอดอลลารสหรัฐฯไตรมาสที่ 1 ยังคงแข็งคาขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา เนื่องจากมีการเก็งกําไรคาเงินบาท ผนวกกับความกังวลของผูประกอบการสงออกทําใหมีการแลกเงินบาทเพิ่มมากขึ้น จึงสงผลใหคาเงินบาทยิ่งแข็งคามากกวาที่ควรจะเปน สวนคาเงินในภูมิภาคอื่นๆแถบเอเชียดวยกันยังคงทรงตัวประเด็นที่นาสนใจไตรมาสที่ 1ยังคงแข็งคาเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ป 49 จากการเก็งกําไรคาเงินบาทและการลงทุนในตลาดหลักทรัพย- การกันสํารองรอยละ 30 ไมสามารถยับยั้งการแข็งคาของเงินบาทได- คาเงินบาทยังคงแข็งคาอยางตอเนื่อง เนื่องจากยังมีการไหลเขาสุทธิของเงินตราตางประเทศ และการออนคาลงของคาเงินดอลลารอยางตอเนื่องอัตราแลกเปลี่ยนไตรมาส1/49ไตรมาส1/50*บาท/$ 36.23 35.38 j% -4.26 -2.36 ยูโร/$ 0.77 0.75 j% -2.22 -1.61 เยน/$ 117.25 117.83 j% 1.51 0.49 หยวน/$ 7.76 7.78 j% -1.78 0.18 สิงคโปร/$ 1.54 1.51 j% -2.74 -1.62 ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมไตรมาสที่ 2คาดวาในระยะสั้น(3เดือน) คาเงินบาท ยังคงแข็งคาอยูในระดับ 34.7-35.2 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ สวนระยะยาว(1ป) จะอยูที่ระดับ 36.41 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ สําหรับกรณีที่เหตุการณตางๆไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม แตหากมีการเก็งกําไรจากกองทุนระหวางประเทศ ยอมทําใหคาเงินบาทปรับตัวแข็งคาขึ้นกวาที่คาดการณไวโดยอาจจะแข็งคาขึ้นถึง 34.5 บาทตอดอลลารสหรัฐฯศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 13
ราคาน้ํามันราคาน้ํามันในตลาดโลกในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2550คาดวายังคงปรับตัวตามสถานการณของเหตุการณ เนื่องจากมีการคาดการณอุณหภูมิของสหรัฐอเมริกาที่จะสูงขึ้น รวมถึงการคาดการณวาปริมาณความตองการน้ํามันเพื่อความอบอุนจะลดต่ําลงดวยเชนกัน นอกจากนี้ปญหาความตึงเครียดระหวางอิหรานกับคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติเรื่องการทดลองนิวเคลียรของประเทศอิหรานก็ยังคงตองติดตามอยู ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ คาดวาราคาน้ํามันดิบดูไบ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะอยูในระดับ56.00 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล โดยปรับตัวใกลเคียงกับระดับราคาน้ํามันดิบดูไบในไตรมาสที่ 1 ป 2550 ที่อยูที่ 55.10 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล และจากการที่คาเงินบาทของไทยมีการแข็งคาขึ้น สงผลใหราคาน้ํามันเบนซินและราคาน้ํามันดีเซลขายปลีกในประเทศในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะยังคงทรงตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง อาจมีการปรับราคาขึ้นไดในไตรมาสนี้ และอยูใกลเคียงกับราคาน้ํามันในชวงไตรมาสที่ 1 ของป 2550 โดยน้ํามันเบนซินจะมีราคาอยูในระดับ 26-29บาทตอลิตร ในขณะที่น้ํามันดีเซลจะมีราคาอยูในระดับ 23-26 บาทตอลิตรราคาน้ํามันในตลาดโลกในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2550 คาดวาจะปรับตัวสูงขึ้น สงผลใหราคาน้ํามันเบนซินและราคาน้ํามันดีเซลขายปลีกในประเทศในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะยังคงทรงตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง อาจมีการปรับราคาขึ้นไดในไตรมาสนี้56.055.157.866.664.757.852.955.342.140.80.020.040.060.080.0Q1.05 Q2.05 Q3.05 Q4.05 Q1.06 Q2.06 Q3.06 Q4.06 Q1.07 Q2.07Dubaiที่มา: จากการคํานวณศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 14
ความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจตาง ๆในการพิจารณาดัชนีความเชื่อมั่นจะทําการพิจารณาคาดัชนีความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจหลักที่มีการดําเนินการจัดทําโดยหนวยงานตาง ๆไดแก ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) ดําเนินการจัดทําโดยธนาคารแหงประเทศไทยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) ดําเนินการจัดทําโดยสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ดัชนีความเชื่อมั่นภาคการคาและบริการ(TSSI) ดําเนินการจัดทําโดยสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค (CCI) ดําเนินการจัดทําโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจมหาวิทยาลัยหอการคาไทยไตรมาสที่ 1คาดัชนีความเชื่อมั่นในทุกสาขาธุรกิจปรับตัวในทิศทางที่ลดลง เนื่องจากมีปจจัยลบเขามากระทบตอเศรษฐกิจของประเทศคอนขางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งสถานการณความขัดแยงทางการเมืองของกลุมการเมืองตาง ๆและสถานการณราคาน้ํามันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในไตรมาสที่ 1 ปจจัยเกื้อหนุน- การสงออกของประเทศที่ยังคงขยายตัวไดในระดับที่ดีจะสงผลดีตอภาคธุรกิจที่พึ่งพาการสงออกในระดับสูงโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมที่จะสงผลใหความเชื่อมั่นของผูประกอบการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นไดปจจัยบั่นทอน- ปญหาความไมชัดเจนทางการเมืองสงผลกระทบโดยตรงตอความเชื่อมั่นของทุกภาคธุรกิจ สงผลใหผูประกอบการชะลอการลงทุน และประชาชนชะลอการบริโภคในชวงนี้708090100110120TSSI*2CCIBSI*2TISI- คาเงินบาทที่มีแนวโนมแข็งคาขึ้นสงผลกระทบโดยตรงตการสงออกของประเทศที่จะทําไดยากขึ้น- ระดับราคาน้ํามันที่มีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการประกอบการของผูประกอบการ และสงผลกระทบตอผูบริโภคผานอํานาจซื้อที่ลดลงคาดวาคาดัชนีความเชื่อมั่นในชวงไตรมาสที่ 2 นาจะยังคงอยูในระดับที่ทรงตัวและคาดัชนีความเชื่อมั่นนาจะยังคงเคลื่อนไหวอยูในระดับที่ต่ํากวาคาฐานในทุกภาคธุรกิจ และคาดวาดัชนีความเชื่อมั่นนาจะมาอยูในระดับที่ใกลเคียงกับคาฐานหรือมีความเชื่อมั่นในระดับปกติไดในชวงไตรมาสที่ 3 ตอเนื่องไตรมาสที่4 ของป2550 ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 15
เศรษฐกิจภาพรวมผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป2550 มีมูลคา 1,056 พันลานบาท ลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมา ซึ่งเปนไปตามฤดูกาล และมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 3.8 และมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยปจจัยที่ทําใหภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวลดลงคือ ภาคการใชจายและภาคการผลิตภายในประเทศที่มีอัตราการขยายตัวที่ลดลงจากภาวะราคาน้ํามันที่มีการปรับตัวสูงขึ้นประกอบกับสถานการณการเมืองภายในประเทศที่มีผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนจากตางประเทศ และปญหาความขัดแยงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่ยังไมสามารถแกไขไดไตรมาสที่ 1 ยังคงมีการขยายตัว แตมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง เปนผลจากการขยายตัวที่ลดลงของทั้งภาคการผลิตและภาคการใชจาย3.383.770200,000400,000600,000800,0001,000,0001,200,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q20.002.004.006.008.0010.00GDP (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)แนวโนมไตรมาสที่ 2 ป 2550 คาดวาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่2 จะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ 3.4 ซึ่งเปนผลมาจากการขยายตัวของภาคการผลิตทั้งภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรมีระดับที่ลดลง ประกอบกับภาคการใชจายโดยเฉพาะภาคเอกชนมีแนวโนมลดลงจากภาวะราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่ สถานการณการเมืองภายในประเทศ และปญหาความขัดแยงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่ยังไมสามารถแกไขได ซึ่งจะสงผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนจากตางประเทศไตรมาสที่ 2 มีแนวโนมขยายตัวลดลง เปนผลจากภาคการผลิตและภาคการใชจายมีการขยายตัวลดลง ขณะปญหาสถานการณการเมืองและราคาน้ํามัน เปนปจจัยลบตอการขยายตัวศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 16
สรุปสถานการณเศรษฐกิจประเทศไทย ไตรมาสที่ 1และประมาณการแนวโนมไตรมาสที่ 2 ป 2550 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกระทรวงพาณิชยและธนาคารแหงประเทศไทยF คือคาประมาณป2550 โดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยรายการหนวย2549Q4 2550Q1(F) 2552Q2(F) เศรษฐกิจภายในประเทศGDP (ราคาปปจจุบัน)2,044,013 2,014,933 1,967,971 ลานบาทGDP (ราคาป 2531) 1,063,280 1,056,243 1,007,729 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 4.2 3.8 3.4 % 3.3 2.5 2.1 อัตราเงินเฟอ% 1.3 1.5 1.4 อัตราการวางงานอัตราการขยายตัวของภาคการผลิตภาคเกษตรกรรม(ราคาป 2531) 119,447 93,897 75,278 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 0.9 1.6 1.0 นอกภาคเกษตรกรรม (ราคาป 2531) 943,833 962,347 932,451 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 4.6 4.0 3.6 ภาคอุตสาหกรรม(ราคาป 2531) 413,998 418,025 405,768 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 5.8 4.8 4.6 ภาคการใชจายการบริโภคของเอกชน (ราคาป 2531) 550,515 547,998 561,477 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 2.5 2.3 2.1 การลงทุน(ราคาป 2531) 231,622 236,429 240,705 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 2.4 1.2 -0.5 ภาคบริการ130,856 144,136 115,079 จํานวนนักทองเที่ยวลานบาท3,656,255 3,767,329 3,007,870 รายไดจากนักทองเที่ยวคนบาท/US36.23 35.38 34.87 อัตราแลกเปลี่ยนภาคการเงิน4.894.693.50-3.75อัตราดอกบี้ยR/P 1 วัน% ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 17
แนวโนมเศรษฐกิจในประเทศป2550 สําหรับภาวะเศรษฐกิจไทยในป 2550 มีแนวโนมชะลอตัวลงเนื่องจากการเมืองไทยขาดเสถียรภาพ ตลอดจนปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่รุมเราเศรษฐกิจไทยยังคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่องไมวาจะเปนระดับราคาน้ํามัน การแข็งคาขึ้นของคาเงินบาทความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการที่อยูในระดับต่ําสุดในรอบ5 ป และสถานการณความไมสงบในเขต3 จังหวัดชายแดนภาคใตปจจัยบวกของเศรษฐกิจไทยในป2550 ที่สําคัญประกอบดวย1. เศรษฐกิจโลกและปริมาณการคาของโลกยังขยายตัวอยูในระดับใกลเคียงกับปนี้ โดยเศรษฐกิจโลกยังคงขยายตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง (โดยเฉพาะประเทศในเอเชีย) แมวาจะชะลอตัวลงเล็กนอยก็ตามกลาวคือเศรษฐกิจโลกและปริมาณการคาของโลกในป2550 ขยายตัวประมาณ4.9% และ7.0% ตามลําดับเทียบกับระดับ5.4% และ9.2% 2. อัตราดอกเบี้ยในประเทศปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง โดยในปนี้อัตราดอกเบี้ยมีโอกาสปรับตัวลดลงประมาณ1.0-1.25% 3. การใชงบประมาณขาดดุลของรัฐบาลไทยในวงเงิน1.52 ลานลานบาทซึ่งขาดดุลงบประมาณจํานวน1 แสนลานบาท โดยคาดวาจะมีการใชจายตามงบประมาณใหมไดตั้งแตตนป 2550 จะเปนปจจัยกระตุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสรางเงินหมุนเวียนใหกับระบบเศรษฐกิจไทย4. รัฐบาลพยายามกระตุนเศรษฐกิจโดยใชนโยบายการคลังและนโยบายการเงินแบบผอนคลายอยางตอเนื่องสําหรับปจจัยลบของเศรษฐกิจไทยในป2550 ที่สําคัญประกอบดวย1. สถานการณทางการเมืองที่มีความไมแนนอนสูง สงผลกระทบในเชิงลบตอความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการ2. ความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการอยูในระดับต่ําสุดในรอบ5 ปและยังไมมีแนวโนมปรับตัวดีขึ้น สงผลใหผูบริโภคชะลอการใชจายและผูประกอบการชะลอการลงทุนและการจางงานอยางตอเนื่อง3. คาเงินบาทที่มีแนวโนมทรงตัวแข็งคาในระดับเฉลี่ย35 บาทตอดอลลาร โดยคาดวาเงินบาทจะแข็งคาขึ้นตามเงินสกุลเอเชียและการออนตัวลงของดอลลารสหรัฐ สงผลใหคาเงินบาทนาจะเคลื่อนไหวในกรอบ 34.5-35.0 บาทตอดอลลารในชวงครึ่งแรกของป และเคลื่อนไหวในกรอบ35.0-35.5 บาทตอดอลลารในชวงครึ่งหลังของป ซึ่งจะสงผลกระทบในเชิงลบตอการสงออกของไทยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 18
4. ระดับราคาน้ํามันโลกระดับราคาน้ํามันในป2550 คาดวาจะทรงตัวอยูในระดับใกลเคียงกับป2549 โดยระดับราคาน้ํามันดิบโดยเฉลี่ยในป2550 คาดวาจะทรงตัวอยูในระดับ60-65 ดอลลารสหรัฐฯตอบารเรล(หรือเฉลี่ยประมาณ 63 ดอลลารสหรัฐฯตอบารเรล) ซึ่งจะสงผลใหราคาน้ํามันขายปลีกในประเทศทรงตัวใกลเคียงกับปที่ผานมา โดยคาดวาราคาน้ํามันดีเซลจะทรงตัวอยูในระดับ25-28 บาทตอลิตรและราคาน้ํามันเบนซินที่จะทรงตัวอยูในระดับ26-29 บาทตอลิตรจะสงผลกระทบตอตนทุนการผลิตและราคาสินคาปรับตัวสูงขึ้นไมมากนักศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยในป2550 ภายใตสมมติฐานวาราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกอยูในระดับ 6065 ดอลลารฯตอบารเรล และคาเงินบาทอยูในระดับ34.7-35.2 บาทตอดอลลารโดยคาดวาเศรษฐกิจไทยในปนี้มีโอกาสขยายตัวประมาณ3.5-4.0% (โดยเศรษฐกิจไทยจะขยายตัว3.4-3.8% ในชวงครึ่งแรกของป และขยายตัว3.2-4.5% ในชวงครึ่งหลังของป) ลดลงจากประมาณการเดิมที่คาดวาเศรษฐกิจไทยในปนี้มีโอกาสขยายตัวประมาณ4.0-4.5% (โดยเศรษฐกิจไทยจะขยายตัว4.0-4.5% ในชวงครึ่งแรกของป และขยายตัว4.5-5.0% ในชวงครึ่งหลังของป) - การสงออก คาดวาจะมีอัตราการขยายตัวตลอดทั้งป2550 ประมาณ 8.0-10.จ% ลดลงจากเดิมที่คาดวาขยายตัวประมาณ 9.0-11.5% สําหรับการนําเขานั้นคาดวาจะมีอัตราการขยายตัว 7.5%-9.5% ในป2550 ลดลงจากเดิมที่คาดวาขยายตัวประมาณ10.0-12.0% - ดุลการคาและดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาในป2550 ประเทศไทยจะมีดุลการคาขาดดุลประมาณ4,000-5,000 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน1.7-2.1% % ของGDP (เดิมคาดวาดุลการคาขาดดุลประมาณ 1,500-2,500 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน0.6-1.1% ของGDP) ในขณะที่ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 5,500-6,500 ลานดอลลารสหรัฐฯ หรือเกินดุลบัญชีเดินสะพัดประมาณ 2.3-2.7% ของGDP (เดิมคาดวาดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ3,000-4,000 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน1.3-2.7% ของGDP) - อัตราเงินเฟอคาดวาในป2550 อัตราเงินเฟอจะมีแนวโนมปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องจากปที่ผานมาโดยอัตราเงินเฟออยูในระดับ1.8-2.3% ลดลงจากประมาณการเดิมที่คาดวาอัตราเงินเฟออยูในระดับ2.2-2.7% ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 19
ตาราง ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทยป2550 รายการหนวย2548 2549 2550-F 2550-F (เดิม) (ปรับใหม) 1/การขยายตัวของปริมาณการคาโลก% 7.4 9.2 7.6 7.0 1/การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก% 4.9 5.4 4.9 4.9 1/-สหรัฐอเมริกา% 3.2 3.3 2.9 2.2 1/- สหภาพยุโรป% 1.3 2.6 2.0 2.3 - ญี่ปุน1/% 2.6 2.7 2.1 2.9 ราคาน้ํามัน$ ตอบารเรล53.6 64.0 61.5 63.0 GDP (ราคาปปจจุบัน) พันลานบาท7,088 7,813 8,439 8,342 GDP (ราคาป2531) พันลานบาท3,851 4,044 4,226 4,197 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ% 4.5 5.0 4.5 3.8 ภาคการผลิต(อัตราการขยายตัว) % -3.2 4.4 3.8 2.7 - ภาคเกษตรกรรม% 5.3 5.0 4.6 3.9 - นอกภาคเกษตรกรรม% 5.2 6.1 5.6 4.5 ภาคอุตสาหกรรมภาคการใชจาย(อัตราการขยายตัว) % 4.3 3.1 3.8 2.4 - การบริโภคของเอกชน% 11.1 4.0 7.6 1.2 - การลงทุนศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 20
ตาราง ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทยป2550 (ตอ)รายการหนวย2548 2549 2550-F 2550-F (เดิม) (ปรับใหม) มูลคาการสงออกลานUS $ 109,193 128,220 141,042 141,042 อัตราการขยายตัว% 15.0 17.4 10.0 10.0 มูลคาการนําเขาลานUS $ 117,722 125,975 139,203 136,557 อัตราการขยายตัว% 25.9 7.0 10.5 8.4 ดุลการคาลานUS $ -8,530 2,245 1,839 4,485 สัดสวนตอGDP % -4.8 1.1 0.8 1.9 ดุลบัญชีเดินสะพัดลานUS $ -3,714 3,240 3,339 5,985 สัดสวนตอGDP % -2.1 1.6 1.4 2.5 อัตราเงินเฟอ% 4.5 4.8 2.5 2.0 อัตราแลกเปลี่ยนบาท/ US $ 40.3 38.0 36.3 35.0 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกระทรวงพาณิชยและธนาคารแหงประเทศไทย(เฉพาะ1/ ขอมูลจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ) ราคาน้ํามันคือราคาน้ํามันดิบเฉลี่ยที่ดูไบ เบรนทและเวสตเท็กซัสF คือคาประมาณป2550 โดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น