การสมัครblog
ขั้นตอนการทำ
1.เข้าไปที่เว็บhttp://www.blogger.com/
2.คลิกเมนู
3.คลิกที่ดูบล๊อก
4.ผลลัพธ์ที่ได้คือ
วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2552
ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สามปี 2551 และแนวโน้มปี 2552
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสสามปี 2551 ขยายตัวร้อยละ 4.0 ชะลอลงต่อเนื่องจากร้อยละ 6.0 ในไตรมาสแรก และร้อยละ 5.3 ในไตรมาสสอง จากอุปสงค์ภายในประเทศและการส่งออกชะลอลง รวมสามไตรมาสเศรษฐกิจ ขยายตัวร้อยละ 5.1 ซึ่งนับว่าภาพรวมยังอยู่ในเกณฑ์ดีและจะช่วยรองรับแรงกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลก ซบเซาในระยะต่อไป
ภาพรวมเศรษฐกิจยังมีเสถียรภาพโดยที่แรงกดดันเงินเฟ้อลดลงตามภาวะราคาน้ำมันและราคาสินค้าโภค ภัณฑ์ที่ลดลง แต่ดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ในไตรมาสสามอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเท่ากับร้อยละ 7.3 โดยที่เงินเฟ้อรายเดือนลดลงจากร้อยละ 9.2 ในเดือนกรกฎาคมเป็นร้อยละ 6.4 และ 6.0 ในเดือนสิงหาคมและ กันยายน และในเดือนตุลาคมเงินเฟ้อลดลงเป็นร้อยละ 3.9 แต่ทั้งดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ซึ่งเป็นผล จากที่การส่งออกชะลอตัวแต่การนำเข้ายังเร่งตัวขึ้น และรายได้จากการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากปัญหาความไม่ สงบในประเทศและปัญหาเศรษฐกิจโลก ประกอบกับไตรมาสสามอยู่นอกฤดูกาลท่องเที่ยว สำหรับอัตราการว่างงาน เฉลี่ยยังต่ำเท่ากับร้อยละ 1.2
อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับตัวสูงขึ้น และอัตราเงินเฟ้อที่ลดลงในช่วงปลายไตรมาสมีผลให้อัตราดอกเบี้ย แท้จริงเพิ่มขึ้นแม้จะยังเป็นอัตราที่เป็นลบ สินเชื่อเร่งตัวมากขึ้น ในขณะที่เงินฝากยังลดลงต่อเนื่อง ทำให้ สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินเริ่มมีสัญญาณตึงตัว ค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลง ต่อเนื่องตั้งแต่กลางเดือนเมษายน ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์โดยเฉลี่ยลดลงมากและมีความผันผวนเป็นช่วง ๆ ตาม การเคลื่อนย้ายเงินทุนออกสุทธิของนักลงทุนต่างชาติในภาวะที่ผลกระทบจากปัญหาหนี้ด้อยคุณภาพได้นำไปสู่วิกฤต ทางการเงินที่แผ่เป็นวงกว้างมากขึ้น
ฐานะการคลังขาดดุลงบประมาณแต่เกินดุลเงินสดต่อเนื่องจากไตรมาสที่แล้วของปีงบประมาณ 2551 โดยที่ มีรายได้นำส่งคลังเพิ่มขึ้นมากแต่รายจ่ายเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2551 มี จำนวน 3.41 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับยอดหนี้คงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2551
คาดว่าเศรษฐกิจไทยยังมีแนวโน้มชะลอตัวในไตรมาสสุดท้ายของปี 2551 เนื่องจากผลกระทบของเศรษฐกิจ โลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงมากจะมีผลให้การส่งออกชะลอลงชัดเจน รวมทั้งปี 2551 เศรษฐกิจไทยมี แนวโน้มขยายตัวร้อยละ 4.5 เทียบกับร้อยละ 4.8 ในปี 2550 อัตราเงินเฟ้อเท่ากับร้อยละ 5.6 อัตราการ ว่างงานเฉลี่ยทรงตัวที่ร้อยละ 1.4 และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลประมาณ 300 ล้านดอลลาร์ สรอ.เทียบกับที่ เกินดุล 14,049 ล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2550ในปี 2552 คาดว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มชะลอตัวลง เนื่องจากได้รับผลกระทบจากปัญหาเศรษฐกิจการเงิน โลกชะลอตัวอย่างชัดเจนมากขึ้น และทำให้การส่งออกชะลอตัวมาก ในขณะที่การใช้จ่ายและการลงทุนในประเทศ ยังขยายตัวต่ำ จึงคาดว่าโดยรวมเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวร้อยละ 3.0-4.0 อัตราเงินเฟ้อเท่ากับร้อยละ 2.5-3.5 และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลร้อยละ 1.2 ของ GDP
การบริหารเศรษฐกิจในปี 2552 เน้นการกระตุ้นและสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศนำ โดยใช้ งบประมาณรายจ่ายรัฐบาลและการดำเนินโครงการภาครัฐ และดำเนินมาตรการเพื่อดูแลผลกระทบต่อภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ การดูแลแรงงานผู้ถูกเลิกจ้างงาน ให้มีสวัสดิการรองรับที่เหมาะสมและได้รับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะและ จัดหางานใหม่ การดูแลสาขาการผลิตและบริการที่อาจได้รับผลกระทบรุนแรง เช่น การท่องเที่ยว การส่งออก อสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น และวางกลไกช่วยเหลือเกษตรกร ซึ่งเผชิญราคาผลผลิตลดลงให้สามารถวางแผนการผลิต และได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม รวมทั้งการดูแลด้านสภาพคล่องให้มีเพียงพอ
ที่มา : หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับที่ 2376 ประจำวันที่ 24 พฤศจิกายน 2551
ภาพรวมเศรษฐกิจยังมีเสถียรภาพโดยที่แรงกดดันเงินเฟ้อลดลงตามภาวะราคาน้ำมันและราคาสินค้าโภค ภัณฑ์ที่ลดลง แต่ดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ในไตรมาสสามอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเท่ากับร้อยละ 7.3 โดยที่เงินเฟ้อรายเดือนลดลงจากร้อยละ 9.2 ในเดือนกรกฎาคมเป็นร้อยละ 6.4 และ 6.0 ในเดือนสิงหาคมและ กันยายน และในเดือนตุลาคมเงินเฟ้อลดลงเป็นร้อยละ 3.9 แต่ทั้งดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ซึ่งเป็นผล จากที่การส่งออกชะลอตัวแต่การนำเข้ายังเร่งตัวขึ้น และรายได้จากการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบจากปัญหาความไม่ สงบในประเทศและปัญหาเศรษฐกิจโลก ประกอบกับไตรมาสสามอยู่นอกฤดูกาลท่องเที่ยว สำหรับอัตราการว่างงาน เฉลี่ยยังต่ำเท่ากับร้อยละ 1.2
อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับตัวสูงขึ้น และอัตราเงินเฟ้อที่ลดลงในช่วงปลายไตรมาสมีผลให้อัตราดอกเบี้ย แท้จริงเพิ่มขึ้นแม้จะยังเป็นอัตราที่เป็นลบ สินเชื่อเร่งตัวมากขึ้น ในขณะที่เงินฝากยังลดลงต่อเนื่อง ทำให้ สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินเริ่มมีสัญญาณตึงตัว ค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลง ต่อเนื่องตั้งแต่กลางเดือนเมษายน ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์โดยเฉลี่ยลดลงมากและมีความผันผวนเป็นช่วง ๆ ตาม การเคลื่อนย้ายเงินทุนออกสุทธิของนักลงทุนต่างชาติในภาวะที่ผลกระทบจากปัญหาหนี้ด้อยคุณภาพได้นำไปสู่วิกฤต ทางการเงินที่แผ่เป็นวงกว้างมากขึ้น
ฐานะการคลังขาดดุลงบประมาณแต่เกินดุลเงินสดต่อเนื่องจากไตรมาสที่แล้วของปีงบประมาณ 2551 โดยที่ มีรายได้นำส่งคลังเพิ่มขึ้นมากแต่รายจ่ายเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2551 มี จำนวน 3.41 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับยอดหนี้คงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2551
คาดว่าเศรษฐกิจไทยยังมีแนวโน้มชะลอตัวในไตรมาสสุดท้ายของปี 2551 เนื่องจากผลกระทบของเศรษฐกิจ โลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงมากจะมีผลให้การส่งออกชะลอลงชัดเจน รวมทั้งปี 2551 เศรษฐกิจไทยมี แนวโน้มขยายตัวร้อยละ 4.5 เทียบกับร้อยละ 4.8 ในปี 2550 อัตราเงินเฟ้อเท่ากับร้อยละ 5.6 อัตราการ ว่างงานเฉลี่ยทรงตัวที่ร้อยละ 1.4 และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลประมาณ 300 ล้านดอลลาร์ สรอ.เทียบกับที่ เกินดุล 14,049 ล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2550ในปี 2552 คาดว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มชะลอตัวลง เนื่องจากได้รับผลกระทบจากปัญหาเศรษฐกิจการเงิน โลกชะลอตัวอย่างชัดเจนมากขึ้น และทำให้การส่งออกชะลอตัวมาก ในขณะที่การใช้จ่ายและการลงทุนในประเทศ ยังขยายตัวต่ำ จึงคาดว่าโดยรวมเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวร้อยละ 3.0-4.0 อัตราเงินเฟ้อเท่ากับร้อยละ 2.5-3.5 และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลร้อยละ 1.2 ของ GDP
การบริหารเศรษฐกิจในปี 2552 เน้นการกระตุ้นและสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศนำ โดยใช้ งบประมาณรายจ่ายรัฐบาลและการดำเนินโครงการภาครัฐ และดำเนินมาตรการเพื่อดูแลผลกระทบต่อภาคส่วนต่าง ๆ ได้แก่ การดูแลแรงงานผู้ถูกเลิกจ้างงาน ให้มีสวัสดิการรองรับที่เหมาะสมและได้รับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะและ จัดหางานใหม่ การดูแลสาขาการผลิตและบริการที่อาจได้รับผลกระทบรุนแรง เช่น การท่องเที่ยว การส่งออก อสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น และวางกลไกช่วยเหลือเกษตรกร ซึ่งเผชิญราคาผลผลิตลดลงให้สามารถวางแผนการผลิต และได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม รวมทั้งการดูแลด้านสภาพคล่องให้มีเพียงพอ
ที่มา : หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับที่ 2376 ประจำวันที่ 24 พฤศจิกายน 2551
วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2552
การวิเคราะห์ เจาะเส้นทาง'อัล-ไกดา' จากอัฟกานิสถานสู่ไทยแลนด์
ครบรอบหนึ่งปี วินาศกรรมเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ และหนึ่งปี ที่คนทั่วโลกหวาดหวั่นกับ 'อัล-ไกดา' และ 'ออสมา บิน ลาเดน' ด้วยเกรงว่า คนกลุ่มนี้ จะกระทำการรุนแรง ในแผ่นดินของตน กิ่งอ้อ เล่าฮง แกะรอยกลุ่มก่อการร้ายอัล-ไกดาในเมืองไทย ว่ามีความเป็นไปได้ไหม ว่าพวกเขาแอบซ่อนอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง สามผู้ต้องหาชาวรัสเซีย เชอเรมนีคห์ เฟลิกซ์, มันลิเดียฟ มารัต,และ กูโดยารอฟ เรนัต ซึ่งก่อเหตุอุกอาจบุกปล้นธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาพัทยาใต้ แล้วพาหลบหนีก่อนจะไปจนมุมเจ้าหน้าที่ตำรวจที่เมืองปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ แทบจะกลายเป็นโจรกระจอกทันที เมื่อเจ้าหน้าที่สถานทูตรัสเซียออกมายืนยันว่า พวกเขาไม่ใช่อดีต 'เคจีบี' ตกอับตามที่สันนิษฐานไว้ตั้งแต่ต้น และคนเหล่านี้จะต่ำชั้นเช่นกันเมื่อเปรียบเทียบกับชื่อของกลุ่มบุคคลในเครือข่าย 'อัล-ไกดา' ของ ออสมา บิน ลาเดน มหาเศรษฐีนักรบชาวซาอุดีอาระเบียที่กำลังถูกตามล่าอย่างเอาเป็นเอาตายจากหน่วยไล่ล่าของกองทัพอเมริกา หลังโศกนาฏกรรมเครื่องบินวิ่งชนตึกเวิลด์เทรดกลางมหานครนิวยอร์ก ตั้งแต่วันที่ 11 กันยายน 2544 ที่ผ่านมา ล่าสุดแม้สหรัฐอเมริกาจะมีความสามารถในการตรวจค้นข้อมูลทันสมัยและกวาดจับลูกสมุนในเครือข่ายของเขาได้บางส่วน แต่ไม่ได้หมายความว่าความหวาดวิตกต่อเหตุร้ายจะลดลง โดยเฉพาะในทุกๆ เขตแดนที่ถูกกำหนดให้อยู่ในการดูแลของรัฐบาลสหรัฐ โดยไม่ได้มีข้อยกเว้นว่า สถานที่นั้นๆ จะอยู่แห่งใดในโลก ทุกพื้นที่อันตรายเท่ากันหมด ไม่เว้นดินแดนเล็กๆ อย่าง กรุงเทพฯ
จับตาการเคลื่อนไหวกลุ่มคลั่งศาสนา
"หลังเหตุการณ์ 11 กันยาฯ มีกลุ่มวัยรุ่นมุสลิม ในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ความนิยม บิน ลาเดน เยอะมาก จุดนี้ทำให้กลุ่มกำลังของ GMIP หรือเบอร์ซาตู เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ประกอบกับตำรวจในพื้นที่ก็สร้างเงื่อนไขมาก ไม่สนใจที่จะแก้ปัญหา ก็เลยหนักหน่อย" แหล่งข่าวด้านความมั่นคงให้ข้อมูล หลังเกิดเหตุสยองในสหรัฐ แม้เขตชายแดนไทย-มาเลเซียจะไม่ใช่เป้าหมายหลักที่กลุ่มอัล-ไกดา เข้ามาเคลื่อนไหวเพื่อก่อเหตุร้าย แต่ต้อง
ยอมรับว่าในฐานะพื้นที่อันเป็นเขตรอยต่อที่พี่น้องชาวมุลสิมทั้งสองประเทศติดต่อกันมาช้านาน ก็อาจมีช่องว่างที่ทำให้บางคนในกลุ่มผู้ก่อการร้ายแฝงเข้ามาหลบภัยได้เช่นกัน "ความจริงก็คือ เครือข่ายเหล่านี้จะถึงกันหมด อย่าง เบอร์ซาตู เป็นองค์กรใหญ่ เขารับเงินสนับสนุนจากต่างประเทศ ส่วนมูจาฮีดีน เป็นนักรบเพื่อพระเจ้า กลุ่มวัยรุ่นที่เข้าร่วมอาจเป็นมุสลิมหัวรุนแรง แต่ก็มีบางคนที่เข้ามาโดยไม่ได้มีอุดมการณ์อะไร ตรงนี้ก็ต้องระวัง" เป็นภาพความเคลื่อนไหวที่ถูกเกาะติดจากหน่วยงานด้านความมั่นคง
ไม่เพียงการเกาะติดสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากประเทศคู่สงครามกับอเมริกาเท่านั้น แต่การติดตามเครือข่ายอัล-ไกดา ในนามความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อป้องกันการก่อการร้าย ด้วยการทำสนธิสัญญาต่อต้านกลุ่มก่อการร้าย ซึ่งสหรัฐเป็นผู้กำหนดขึ้นมาเฉพาะในเขตเอเชีย อย่าง ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย รวมทั้งประเทศไทย ยิ่งทำให้มาตรการจับตาการเคลื่อนไหวของกลุ่มคนร้ายที่เป็นชาวมุสลิมยิ่งเข้มงวดมากขึ้น "ที่เขาเน้นพื้นที่จุดดังกล่าว โดยเฉพาะเอสซารา หรือพื้นที่ราบทุกแห่งในเขตอัฟกานิสถาน เป็นแหล่งปลูกยาเสพติดที่มีรสชาติที่ดีที่สุดในโลก ซึ่งมาเฟียอิตาลี และประเทศใกล้เคียงจะเข้ามารับสัมปทานในเขตนี้ ที่นี่ถือเป็นแหล่งเงินสำคัญของใครก็ตามที่เข้ามาคุมบริเวณนี้ได้" ด้วยการตรวจสอบความเคลื่อนไหวของสถานะทางการเงินของคนเหล่านี้ทั่วโลก ซึ่งจริงๆ แล้วเขาทำมาก่อนนั้น และเพื่อความสอดคล้องกับประเทศต่างๆ ด้วย ก็เลยกำหนดกลุ่มก่อการร้ายไว้ทั้งหมด 18 กลุ่ม แล้วขอใช้อำนาจทางกฎหมายของสหประชาชาติ ให้ทำการตรวจสอบรายชื่อและการทำธุรกิจของบุคคลเหล่านี้" แหล่งข่าวด้านความมั่นคง กล่าว และให้ภาพการทำงานหน่วยงานภายใต้การกำกับของสหรัฐ เช่น FBI และ CIA ว่า ก็เปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นเดียวกัน
แตกรังสู่เอเชีย
มาตรการกดดันกลุ่มอัล-ไกดา หลากรูปแบบที่สหรัฐอเมริกานำมาใช้ ทำให้พลพรรคของบิน ลาเดน ต้องแตกกระฉานซ่านเซ็นไปยังสถานที่ต่างๆ โดยเฉพาะในเอเชีย และประเทศไทยก็อยู่ในจำนวนนั้นด้วย แหล่งข่าวด้านความมั่นคงให้ข้อมูลว่า ยุทธการไล่ล่ากลุ่มเครือข่ายอัล-ไกดา อย่างหนักหน่วงของหน่วยงานฝ่ายต่างๆของรัฐบาลสหรัฐ ทำให้ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และประเทศที่มีกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม ได้รับความกระทบกระเทือนไปด้วย "อาจกล่าวได้ว่า ไทยเป็นสวรรค์ของกลุ่มก่อการร้าย เหตุที่เขาจะไม่ทำอะไรในประเทศไทย เพราะถ้าทำ เจ้าหน้าที่ของสหรัฐก็ต้องตามจับ สู้กบดานอยู่เงียบๆ ไม่ดีกว่าหรือ ถามว่าเรากลัวเขาหรือไม่ ตอบตรงๆ ก็คือ ไม่กลัว แต่ที่กลัวคือมือที่สามที่เข้ามาสร้างความชอบธรรมบางอย่างให้ตัวเอง" เป็นการวิเคราะห์ของเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง
ในขณะที่ข้อมูลจากหน่วยข่าวด้านข่าวกรองในระดับสากล ให้ข้อมูลว่า หลังจากรังซ่องสุมกำลังพลในเครือข่ายอัล-ไกดา แตก ทำให้เส้นทางการหลบหนีของคนเหล่านี้ แยกออกเป็น 2 ทาง ซีกหนึ่งแยกไปทางประเทศมุสลิม เช่น อิรัก อิหร่าน อีกซีกหนึ่งเข้ามาทางเอเชียใต้ แต่กระนั้นทางของกลุ่มคนเหล่านี้ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะแม้แต่ประเทศมุสสิมอย่าง อิหร่านก็ยังต้องจับคนร้ายส่งให้กับซาอุดีอาระเบีย
เชื่อมเครือข่ายข่าวต้านเหตุร้าย
ชนวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ไม่เพียงทำให้สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปเท่านั้น แต่ยังมีผลให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยข่าวทั่วโลกด้วย ชาติต่างๆ ขาดความมั่นใจทางด้านความปลอดภัย เพราะศักยภาพของเครือข่ายกลุ่มก่อการร้ายสามารถทะลุทะลวงได้ทุกแห่ง ไม่ว่า เคนยา หรือแทนซาเนีย ซึ่งมีปัญหาถูกกลุ่มก่อการร้ายโจมตี ทั้งๆที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกับสหรัฐอเมริกาเลย อย่างไรก็ตาม สำหรับการตรวจสอบความเคลื่อนไหวของกลุ่มก่อการร้ายในไทยนั้น แหล่งข้อมูลด้านข่าวกรองในระดับสากล ยืนยันว่า หากเป็นกลุ่มคนร้ายที่เป็นมืออาชีพ การติดตามของเจ้าหน้าที่อาจจะไม่ทันท่วงที แต่จะใช้เวลาเพียง 2-3 วันเท่านั้นก็จะสามารถพิสูจน์ทราบได้ว่าอยู่ตรงไหน แม้โลกของศาสนาจะสอนให้มีความสันติในการอยู่รวมกันของหมู่มวลมนุษย์ แต่ในโลกของความเป็นจริงสันติสุข และสันติภาพสำหรับประเทศตะวันออกกลาง ยังไม่มีทีท่าจะเกิดขึ้นได้เลย ออสมา บิน ลาเดน กลายเป็นสัญลักษณ์ในการต่อสู้ของกลุ่มวัยรุ่นมุสลิมหัวรุนแรง ในขณะที่สหรัฐกับกลายเป็นศัตรูร่วมของมุสสิมทั่วโลก จนทำให้โลกทั้งใบต้องสั่นสะเทือนอยู่ ณ เวลานี้
ล้อมกรอบ "ไทยไม่พร้อมเป็นศัตรูกลุ่มก่อการร้าย"
พลิกโฉมอย่างสิ้นเชิงจากการติดตามความเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ก่อการร้ายในประเทศไทย ซึ่งแม้จะมีความเข้มข้นในการตรวจสอบคนเข้าออกมากขึ้นกว่าเดิม แต่นั่นก็แรงบีบบังคับที่ทำให้ไทยต้องยอม เพื่อไม่ให้รัฐบาลสหรัฐเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในของเรามากนัก แต่ขณะเดียวกันหลังจากประเมินสถานการณ์การแล้ว ไทยเองก็ไม่ต้องการสร้างศัตรูเพิ่มขึ้น หน่วยงานข่าวด้านความมั่นคงทั้งตำรวจและทหาร ประเมินสถานการณ์ตรงกันว่า ผลพวกที่เกิดขึ้นครั้งนั้น สหรัฐได้สร้างปัญหาเกิดขึ้น 3 อย่าง คือ 1.รัฐบาลของทุกประเทศถูกกดดันทั้งๆ ที่ในทุกประเทศมีมุสลิมอาศัยอยู่จำนวนมาก 2.กลุ่มก่อการร้ายก็ถูกกดดันมากขึ้น และ 3.จากการกดดันข้างต้นทำให้การตอบโต้สหรัฐจากกลุ่มก่อการร้ายก็จะเปลี่ยนไปโดยไม่เลือกสถานที่ "เราตามดูห่างๆ ตราบใดที่เขายังไม่ทำอะไรผิด ก็ทำอะไรเขาไม่ได้ เพราะการจับนอกจากเป็นการเพิ่มศัตรูแล้ว ยังเป็นการขยายเครือข่ายให้เขาเข้มแข็งมากขึ้น สมมติเข้ามา 100 คน เราจับได้ 30 คน ถามว่าอีก 70 คนที่เหลือ เราพร้อมจะสู้กับเขาหรือไม่ เราจะตามเครือข่ายเขาได้แค่ไหน แต่ในเรื่องนโยบายการต่อต้านการก่อการร้ายสากล นโยบายนี้เราทำแน่นอน ขณะเดียวกัน เราก็ไม่จำเป็นต้องไปสร้างศัตรูเพิ่มไม่ใช่หรือ" แหล่งข่าวตั้งคำถามทิ้งท้าย
อ้างอิงข้อมูลการวิเคราะห์ : ฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กรุงเทพจุดประกาย 2550
ที่มาlearners.in.th/file/gumpanat/งานชิ้นที่%206%20%20นายกัมปนาท%20%20บุญ...
จับตาการเคลื่อนไหวกลุ่มคลั่งศาสนา
"หลังเหตุการณ์ 11 กันยาฯ มีกลุ่มวัยรุ่นมุสลิม ในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้ความนิยม บิน ลาเดน เยอะมาก จุดนี้ทำให้กลุ่มกำลังของ GMIP หรือเบอร์ซาตู เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ประกอบกับตำรวจในพื้นที่ก็สร้างเงื่อนไขมาก ไม่สนใจที่จะแก้ปัญหา ก็เลยหนักหน่อย" แหล่งข่าวด้านความมั่นคงให้ข้อมูล หลังเกิดเหตุสยองในสหรัฐ แม้เขตชายแดนไทย-มาเลเซียจะไม่ใช่เป้าหมายหลักที่กลุ่มอัล-ไกดา เข้ามาเคลื่อนไหวเพื่อก่อเหตุร้าย แต่ต้อง
ยอมรับว่าในฐานะพื้นที่อันเป็นเขตรอยต่อที่พี่น้องชาวมุลสิมทั้งสองประเทศติดต่อกันมาช้านาน ก็อาจมีช่องว่างที่ทำให้บางคนในกลุ่มผู้ก่อการร้ายแฝงเข้ามาหลบภัยได้เช่นกัน "ความจริงก็คือ เครือข่ายเหล่านี้จะถึงกันหมด อย่าง เบอร์ซาตู เป็นองค์กรใหญ่ เขารับเงินสนับสนุนจากต่างประเทศ ส่วนมูจาฮีดีน เป็นนักรบเพื่อพระเจ้า กลุ่มวัยรุ่นที่เข้าร่วมอาจเป็นมุสลิมหัวรุนแรง แต่ก็มีบางคนที่เข้ามาโดยไม่ได้มีอุดมการณ์อะไร ตรงนี้ก็ต้องระวัง" เป็นภาพความเคลื่อนไหวที่ถูกเกาะติดจากหน่วยงานด้านความมั่นคง
ไม่เพียงการเกาะติดสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากประเทศคู่สงครามกับอเมริกาเท่านั้น แต่การติดตามเครือข่ายอัล-ไกดา ในนามความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อป้องกันการก่อการร้าย ด้วยการทำสนธิสัญญาต่อต้านกลุ่มก่อการร้าย ซึ่งสหรัฐเป็นผู้กำหนดขึ้นมาเฉพาะในเขตเอเชีย อย่าง ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย รวมทั้งประเทศไทย ยิ่งทำให้มาตรการจับตาการเคลื่อนไหวของกลุ่มคนร้ายที่เป็นชาวมุสลิมยิ่งเข้มงวดมากขึ้น "ที่เขาเน้นพื้นที่จุดดังกล่าว โดยเฉพาะเอสซารา หรือพื้นที่ราบทุกแห่งในเขตอัฟกานิสถาน เป็นแหล่งปลูกยาเสพติดที่มีรสชาติที่ดีที่สุดในโลก ซึ่งมาเฟียอิตาลี และประเทศใกล้เคียงจะเข้ามารับสัมปทานในเขตนี้ ที่นี่ถือเป็นแหล่งเงินสำคัญของใครก็ตามที่เข้ามาคุมบริเวณนี้ได้" ด้วยการตรวจสอบความเคลื่อนไหวของสถานะทางการเงินของคนเหล่านี้ทั่วโลก ซึ่งจริงๆ แล้วเขาทำมาก่อนนั้น และเพื่อความสอดคล้องกับประเทศต่างๆ ด้วย ก็เลยกำหนดกลุ่มก่อการร้ายไว้ทั้งหมด 18 กลุ่ม แล้วขอใช้อำนาจทางกฎหมายของสหประชาชาติ ให้ทำการตรวจสอบรายชื่อและการทำธุรกิจของบุคคลเหล่านี้" แหล่งข่าวด้านความมั่นคง กล่าว และให้ภาพการทำงานหน่วยงานภายใต้การกำกับของสหรัฐ เช่น FBI และ CIA ว่า ก็เปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นเดียวกัน
แตกรังสู่เอเชีย
มาตรการกดดันกลุ่มอัล-ไกดา หลากรูปแบบที่สหรัฐอเมริกานำมาใช้ ทำให้พลพรรคของบิน ลาเดน ต้องแตกกระฉานซ่านเซ็นไปยังสถานที่ต่างๆ โดยเฉพาะในเอเชีย และประเทศไทยก็อยู่ในจำนวนนั้นด้วย แหล่งข่าวด้านความมั่นคงให้ข้อมูลว่า ยุทธการไล่ล่ากลุ่มเครือข่ายอัล-ไกดา อย่างหนักหน่วงของหน่วยงานฝ่ายต่างๆของรัฐบาลสหรัฐ ทำให้ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และประเทศที่มีกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม ได้รับความกระทบกระเทือนไปด้วย "อาจกล่าวได้ว่า ไทยเป็นสวรรค์ของกลุ่มก่อการร้าย เหตุที่เขาจะไม่ทำอะไรในประเทศไทย เพราะถ้าทำ เจ้าหน้าที่ของสหรัฐก็ต้องตามจับ สู้กบดานอยู่เงียบๆ ไม่ดีกว่าหรือ ถามว่าเรากลัวเขาหรือไม่ ตอบตรงๆ ก็คือ ไม่กลัว แต่ที่กลัวคือมือที่สามที่เข้ามาสร้างความชอบธรรมบางอย่างให้ตัวเอง" เป็นการวิเคราะห์ของเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง
ในขณะที่ข้อมูลจากหน่วยข่าวด้านข่าวกรองในระดับสากล ให้ข้อมูลว่า หลังจากรังซ่องสุมกำลังพลในเครือข่ายอัล-ไกดา แตก ทำให้เส้นทางการหลบหนีของคนเหล่านี้ แยกออกเป็น 2 ทาง ซีกหนึ่งแยกไปทางประเทศมุสลิม เช่น อิรัก อิหร่าน อีกซีกหนึ่งเข้ามาทางเอเชียใต้ แต่กระนั้นทางของกลุ่มคนเหล่านี้ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะแม้แต่ประเทศมุสสิมอย่าง อิหร่านก็ยังต้องจับคนร้ายส่งให้กับซาอุดีอาระเบีย
เชื่อมเครือข่ายข่าวต้านเหตุร้าย
ชนวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ไม่เพียงทำให้สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปเท่านั้น แต่ยังมีผลให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยข่าวทั่วโลกด้วย ชาติต่างๆ ขาดความมั่นใจทางด้านความปลอดภัย เพราะศักยภาพของเครือข่ายกลุ่มก่อการร้ายสามารถทะลุทะลวงได้ทุกแห่ง ไม่ว่า เคนยา หรือแทนซาเนีย ซึ่งมีปัญหาถูกกลุ่มก่อการร้ายโจมตี ทั้งๆที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกับสหรัฐอเมริกาเลย อย่างไรก็ตาม สำหรับการตรวจสอบความเคลื่อนไหวของกลุ่มก่อการร้ายในไทยนั้น แหล่งข้อมูลด้านข่าวกรองในระดับสากล ยืนยันว่า หากเป็นกลุ่มคนร้ายที่เป็นมืออาชีพ การติดตามของเจ้าหน้าที่อาจจะไม่ทันท่วงที แต่จะใช้เวลาเพียง 2-3 วันเท่านั้นก็จะสามารถพิสูจน์ทราบได้ว่าอยู่ตรงไหน แม้โลกของศาสนาจะสอนให้มีความสันติในการอยู่รวมกันของหมู่มวลมนุษย์ แต่ในโลกของความเป็นจริงสันติสุข และสันติภาพสำหรับประเทศตะวันออกกลาง ยังไม่มีทีท่าจะเกิดขึ้นได้เลย ออสมา บิน ลาเดน กลายเป็นสัญลักษณ์ในการต่อสู้ของกลุ่มวัยรุ่นมุสลิมหัวรุนแรง ในขณะที่สหรัฐกับกลายเป็นศัตรูร่วมของมุสสิมทั่วโลก จนทำให้โลกทั้งใบต้องสั่นสะเทือนอยู่ ณ เวลานี้
ล้อมกรอบ "ไทยไม่พร้อมเป็นศัตรูกลุ่มก่อการร้าย"
พลิกโฉมอย่างสิ้นเชิงจากการติดตามความเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ก่อการร้ายในประเทศไทย ซึ่งแม้จะมีความเข้มข้นในการตรวจสอบคนเข้าออกมากขึ้นกว่าเดิม แต่นั่นก็แรงบีบบังคับที่ทำให้ไทยต้องยอม เพื่อไม่ให้รัฐบาลสหรัฐเข้ามาแทรกแซงกิจการภายในของเรามากนัก แต่ขณะเดียวกันหลังจากประเมินสถานการณ์การแล้ว ไทยเองก็ไม่ต้องการสร้างศัตรูเพิ่มขึ้น หน่วยงานข่าวด้านความมั่นคงทั้งตำรวจและทหาร ประเมินสถานการณ์ตรงกันว่า ผลพวกที่เกิดขึ้นครั้งนั้น สหรัฐได้สร้างปัญหาเกิดขึ้น 3 อย่าง คือ 1.รัฐบาลของทุกประเทศถูกกดดันทั้งๆ ที่ในทุกประเทศมีมุสลิมอาศัยอยู่จำนวนมาก 2.กลุ่มก่อการร้ายก็ถูกกดดันมากขึ้น และ 3.จากการกดดันข้างต้นทำให้การตอบโต้สหรัฐจากกลุ่มก่อการร้ายก็จะเปลี่ยนไปโดยไม่เลือกสถานที่ "เราตามดูห่างๆ ตราบใดที่เขายังไม่ทำอะไรผิด ก็ทำอะไรเขาไม่ได้ เพราะการจับนอกจากเป็นการเพิ่มศัตรูแล้ว ยังเป็นการขยายเครือข่ายให้เขาเข้มแข็งมากขึ้น สมมติเข้ามา 100 คน เราจับได้ 30 คน ถามว่าอีก 70 คนที่เหลือ เราพร้อมจะสู้กับเขาหรือไม่ เราจะตามเครือข่ายเขาได้แค่ไหน แต่ในเรื่องนโยบายการต่อต้านการก่อการร้ายสากล นโยบายนี้เราทำแน่นอน ขณะเดียวกัน เราก็ไม่จำเป็นต้องไปสร้างศัตรูเพิ่มไม่ใช่หรือ" แหล่งข่าวตั้งคำถามทิ้งท้าย
อ้างอิงข้อมูลการวิเคราะห์ : ฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาประเทศไทย กรุงเทพจุดประกาย 2550
ที่มาlearners.in.th/file/gumpanat/งานชิ้นที่%206%20%20นายกัมปนาท%20%20บุญ...
สถานที่ท่องเที่ยว
ข้อมูลทั่วไป สวนสนบนภูหนาว....อุทยานแห่งชาติน้ำหนาวอยู่ในท้องที่อำเภอหล่มเก่า อำเภอหล่มสัก อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และอำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เป็นอุทยานแห่งชาติที่สวยที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นแนวเขตกั้นระหว่างภาคอีสานและภาคเหนือ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นเทือกเขาสูง มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นต้นน้ำลำธาร มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง มีเนื้อที่ประมาณ 603,750 ไร่ หรือ 966 ตารางกิโลเมตร
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กำหนดป่าน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และป่าอื่นๆ ในท้องที่จังหวัดต่างๆ รวม 14 ป่า เป็นอุทยานแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2511 กรมป่าไม้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปทำการสำรวจเบื้องต้นเกี่ยวกับสภาพพื้นที่บริเวณป่าน้ำหนาว ปรากฏว่า มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง ตลอดจนเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด กรมป่าไม้จึงได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติซึ่งได้มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 1/2513 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2513 เห็นชอบให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 142 เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2515 กำหนดบริเวณป่าน้ำหนาวในท้องที่ตำบลบ้านโคก อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ตำบลบ้านกลาง ตำบลบ้านติ้ว ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก ตำบลน้ำหนาว อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ และตำบลห้วยยาง อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เป็นอุทยานแห่งชาติ เนื้อที่ประมาณ 603,750 ไร่ โดยประกสศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 89 ตอนที่ 71 ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2515 เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งที่ 5 ของประเทศ
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2502 ให้กำหนดป่าน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และป่าอื่นๆ ในท้องที่จังหวัดต่างๆ รวม 14 ป่า เป็นอุทยานแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2511 กรมป่าไม้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปทำการสำรวจเบื้องต้นเกี่ยวกับสภาพพื้นที่บริเวณป่าน้ำหนาว ปรากฏว่า มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง ตลอดจนเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด กรมป่าไม้จึงได้นำเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติซึ่งได้มีมติในคราวประชุมครั้งที่ 1/2513 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2513 เห็นชอบให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 142 เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2515 กำหนดบริเวณป่าน้ำหนาวในท้องที่ตำบลบ้านโคก อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ตำบลบ้านกลาง ตำบลบ้านติ้ว ตำบลห้วยไร่ อำเภอหล่มสัก ตำบลน้ำหนาว อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ และตำบลห้วยยาง อำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เป็นอุทยานแห่งชาติ เนื้อที่ประมาณ 603,750 ไร่ โดยประกสศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 89 ตอนที่ 71 ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2515 เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งที่ 5 ของประเทศ
วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2552
ประวัติส่วนตัว
ชื่อนายอภิสิทธ์ สาสีเสาร์ ชื่อเล่น เอ่ย
เกิดวัน อังคารที่ 9 เดือน พฤษภาคม 2532
อายุ 19 ปี
ที่อยู่บ้านเลขที่ 84 หมู่ 5 ตำบลหนองเทพ อำเภอโนนนารายณ์ จังหวัดสุรินทร์ 32130
Tel. 0877791646
Email. ehai-po@hotmail.com. ahei51011311322@gmail.com
hi5. realmarid-001.hi5.com. ehaiza.blogspot.com
ครอบครัวมีทั้งหมด 5คน ประกอบด้วย
1.นายเอ็ด สาสีเสาร์ พ่อ
2.นางสมทิพย์ สาสีเสาร์ แม่
3.นายอภิสิทธิ์ สาสีเสาร์ ลูกชายคนโต ผมเองครับ
4.นางสาวอภิญญา สาสีเสาร์ น้องสาวคนกลาง
5.ด.ช.อภิศักดิ์ สาสีเสาร์ น้องชายคนเล็ก
ด้านสุขภาพ
สูง 170 หนัก 79
ด้านการศึกษา
ประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองแวง
มัธยมศึกษาโรงเรียนโนนเทพ
ปัจจุบันนิสิตชั้นปีที่2 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สาขาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความชื่นชอบ
1. บุคลที่ชื่นชอบ
ทักษิน ชินวัตร ชอบเสื้อแดง
ดาราหญิงที่ชื่นชอบ
เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ โดนจัยสุดๆ
วงดนตรีที่ชอบ
วง Body Slam
ทีมฟุตบอลที่ชื่นชอบ
อาเซนอล เด็กปืนใหญ่ครับ
เพลงที่ชอบ
ละครที่ชอบ
งานอดิเรก
1.ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมส์
2.อ่านหนังสือ
3.เดินทางท่องเที่ยว
4.ปลูกต้นไม้
5.ทำความสะอาดบ้าน
ความสามารถพิเศษ
1.เล่นเกมส์ฟุตบอลได้ดี
2.ร้องเพลง
3.เล่นกีฬาได้ทุกประเภท
นิสัยส่วนตัว
1. ร่าเริง แจ่มใส
2.พูดไม่เก่งแต่รักหมดจัย
3.เข้ากับคนอื่นได้ง่าย
อาหารที่ชอบ
แกงเขียวหวาน
ผู้หญิงในฝัน
1.น่ารักระดับหนึ่ง
2.นิสัยดี
3.เข้ากับเราได้
4.ไม่จำเป็นต้องสวยขอแค่น่ารักก็พอ
5.ย้อนดูทุกข้อที่กล่าวมา
ความใฝ่ฝัน
1.ปลัด
2.ตำรวจ
3.นายอำเภอ
4.ถ้าเป็นได้ก็คงจะดีนะ
คติประจำใจ
บุคคลที่ทุกคนเริ่มต้นที่ศูนย์เสมอ แล้วค่อยๆเดินขึ้นมาในหมายเลขหนึ่ง สอง และสามต่อๆไป
คนเราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกที่จะทำ ที่จะเป็น ที่จะเดิน ได้นะครับ
10 อภิมหาเศรษฐี รวยที่สุดในจักรวาล
โอ๊ยๆๆ ไม่รู้จะร่ำจะรวยกันไปถึงไหน รวยขนาดชาติหน้ายังใช้เงินไม่หมด!! เปิดทำเนียบ 10 บิลเลี่ยนแนร์ร่ำรวยที่สุดในโลก จากการจัดอันดับปี 2006 ของนิตยสารฟอร์บส์ แล้วอยากจะเป็นลมล้มตึง เพราะอึ้งกับเส้นทางมหาเศรษฐีที่ยาวเป็นกิโลๆ รวยมายังไง...รวยซุปเปอร์เว่อร์แค่ไหน คงรู้กันบ้างแล้ว แต่สงสัยไหมว่า พ่อมหาเศรษฐีพันล้านพวกนี้ใช้ชีวิตส่วนตั๊ว...ส่วนตัวกันยังไง จะหรูหราฟู่ฟ่าสมฐานะ หรือเค็มจัดมัธยัสถ์จนเกลือเรียกพี่...ตัดสินกันเอาเอง!!
เห็นบ้านหลังบะเริ่มเฮิ่มของ “บิล เกทส์” เจ้าพ่อไมโครซอฟต์ ต้องยอมรับว่าสมฐานะ อภิมหาเศรษฐีอันดับหนึ่งของโลก มีทรัพย์สิน 50 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ...จะบ้าตาย!! คฤหาสน์ของบิลเลี่ยนแนร์ไฮเทค ราคาเฉียด 125 ล้านยูเอสดอลลาร์...เป็นบ้านโคตรแพงที่สุดหลังหนึ่งของโลก!! ตั้งอยู่บนทำเลทองเนินเขาริมทะเลสาบเลค วอชิงตัน ใกล้กับเมืองซีแอตเทิล มีเนื้อที่กว้างขวาง 66,000 ตารางฟุต เครื่องอำนวยความสะดวกครบครัน รวมถึงสระว่ายน้ำขนาด 60 ฟุต, ห้องกินข้าวใหญ่เว่อร์ กว่า 1,000 ตารางฟุต และห้องสมุดส่วนตัว อู้ฟู่ขนาดนี้ แต่ครอบครัวเดอะเกทส์ยังถ่อมตัวว่า มีกินมีใช้ธรรมดาๆ!! ไม่นับรวมถึงบ้านพักตากอากาศสุดหรูอีกหลังบนเกาะมัสติก... สงสัยจะไม่รู้ตัวว่ากำลังรวยล้นฟ้าท่วมแผ่นดิน?!
สะกดรอยตามดูการใช้ชีวิตของ “พ่อมดไอที” วัย 50 ก็เป็นจริงดังคำร่ำลือ!! เขาไม่ใช่คนขี้ตืด แต่ก็ไม่ฟุ้งเฟ้อจนคนหมั่นไส้!!บิลเลี่ยนแนร์นัมเบอร์วันของโลก ยอมเสียเงินกับเรื่องใหญ่ๆ ไม่กี่อย่าง เขาคลั่งไคล้รถพอร์ช ซื้อไว้ 2 คันคือ “พอร์ช 911 คอนเวิร์ตทิเบิล ปี 1999” ใช้ประจำวัน และ “พอร์ช 959 คูเป้ ปี 1988” คันนี้ไว้ซิ่งแก้เครียด!! นอกนั้นก็เป็นของสะสมชิวๆ ประเภทภาพเขียนศิลปินดังๆ ระดับโลก ชิ้นหนึ่งไม่กี่ร้อยล้านดอลลาร์!! ถ้าเป็นงานอดิเรกว่างจากธุรกิจพันล้าน มหาเศรษฐีหน้าเด็กโปรดการแต่งสวน, ซิ่งเรือยอชต์ และบริจาคเงินช่วยเหลือองค์กรการกุศล กับให้ทุนวิจัยวิทยาศาสตร์...ใจบุญอย่างนี้ยังถูกจับผิดว่าเล่นบทนักบุญ เพราะอยากกลบเกลื่อนความผิดฐานผูกขาดตลาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์!!
ยังไงๆ ก็ถือว่าสมถะมาก เมื่อเทียบกับมหาเศรษฐีคนอื่นๆ ที่รวยน้อยกว่า!! ใกล้ๆ ตัวก็ต้อง คู่หูร่วมก่อตั้งไมโครซอฟต์ “พอล อัลเลน” บิลเลี่ยนแนร์อันดับ 6 ของโลก ที่นิยมสะสมบ้านหลายๆ หลัง มีทีมฟุตบอลและบาสเกตบอลของตัวเอง แถมยังเป็นเจ้าของยานอวกาศสเปซ ชิพ วัน เขาแก่กว่า “บิล เกทส์” 3 ปีเป็นคนยุให้เพื่อนรักดร็อปเรียนตามอย่างตัวเองมาร่วมก่อตั้งไมโครซอฟต์... ก่อร่างสร้างตัวถึงปัจจุบันหาเงินได้ 22 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ แต่เขายังโสดสนิท ไม่มีคนช่วยใช้เงิน!! เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นดรีมเวิร์คส์ อานิเมชั่น และเป็นเจ้าของบริษัทบริหารโปรเจกต์ “วัลแคน อินส์” เป็นเจ้าของนิตยสารกีฬาชื่อดัง และมีเรือยอชต์ส่วนตัวชื่อ “อ็อกโตปุส” ขนาดใหญ่อันดับ 4 ของโลก!! ไลฟ์สไตล์คู่นี้ต่างกันสุดขั้ว แต่ “พอล อัลเลน” ชอบเล่นบทนักบุญเช่นกัน เน้นบริจาคเงินช่วยเหลือคนเจ็บไข้ได้ป่วย ให้ทุนวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ยังมีมหาเศรษฐีที่สร้างตัวด้วยลำแข้งอีกหลายคน ล้วนแต่ร่ำรวยระดับท็อปเทนโลก!! ไม่ว่าจะเป็น “วอร์เรน บัฟเฟตต์” ซีอีโอบริษัทเบิร์คเชียร์ ฮาธาเวย์ ร่ำรวยที่สองของโลก มีทรัพย์สิน 42 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ!! ขึ้นชื่อว่าเป็นนักลงทุนชั้นเซียนของอเมริกา ไม่ว่าจะจับอะไรเป็นเงินเป็นทองไปหมด!! ถ้ากางบัญชีทรัพย์สินของบริษัทเบิร์คเชียร์ฯ ซึ่งเขาถือหุ้นกว่า 38% คงถึงบางอ้อว่า เหตุใดซีอีโอวัย 75 ถึงรวยได้รวยดี!! ธุรกิจหลักๆ ของบริษัท โฟกัสที่บิสเนสประกันภัย, ผลิตลูกอม, ค้าปลีก, หนังสือพิมพ์, ธุรกิจการบิน, ขายเฟอร์นิเจอร์แต่งบ้าน, สารานุกรม, อุปกรณ์ทำความสะอาดบ้าน, ผลิตและจำหน่ายชุดยูนิฟอร์ม, เครื่องประดับอัญมณี รวมทั้งผลิต, นำเข้า และขายอุปกรณ์รองเท้า บริษัทมหาชนใหญ่ที่สุดในโลกแห่งนี้ ยังมีพอร์ตการลงทุนใหญ่โต ฟันกำไรจากหุ้นเจ๋งๆ เป็นกอบเป็นกำ!!
เห็นรวยๆ อย่างนี้ก็เถอะ “คุณปู่วอร์เรน” ใช้ชีวิตสมถะและขี้เหนียวสุดๆ ทุกวันนี้กินเงินเดือนบริษัทตัวเองปีละแสนดอลลาร์สหรัฐฯ และยังอาศัยอยู่บ้านหลังเก่าแถบชานเมือง โอมาฮ่า ซื้อตั้งแต่ปี 1957 ในราคา 31,500 ดอลลาร์สหรัฐฯ!! ส่วนรถยนต์ก็มัธยัสถ์สมกับนิสัย ขับ “ลินคอล์น ทาวน์ คาร์ซิกเนเจอร์ ซีรีย์ส์ ปี 2001” คันยาวเท่าเรือ!!
ถึงจะรวยเป็นอันดับ 4 ของโลก มีทรัพย์สิน 28 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ แต่ “อิงวาร์ แคมพราด” คุณปู่ชาวสวีเดน ผู้ก่อตั้งบริษัทไอเกีย แบรนด์เฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ในบ้านใหญ่สุดของโลก ก็เป็นแบบอย่างที่ดีเรื่องการใช้ชีวิตติดดิน!! คุณปู่วัย 79 บุกเบิกสร้างแบรนด์ไอเกียมาด้วยตัวเอง เริ่มต้นจากขายเฟอร์นิเจอร์ จากนั้นค่อยๆ ผลิตเฟอร์นิเจอร์ดีไซน์เก๋ๆ ราคาคุ้มค่าเงิน กลายเป็นขวัญใจคนรักบ้านทั่วโลก ปัจจุบันมีสาขาอยู่ 33 ประเทศ ไหนๆ ก็ร่ำรวยมาจากคนเบี้ยน้อยหอยน้อย “คุณปู่อิงวาร์” จึงตั้งใจว่า ชีวิตนี้จะไม่ใส่สูทเบ่งความรวย, งดอาหารเหลา ฟาดแต่เมนูพื้นๆ, ไม่นอนโรงแรมหรู และบินชั้นประหยัดสถานเดียว ส่วนรถประจำตำแหน่งก็แสนมัธยัสถ์ คุณปู่ยอดเค็มขับ “วอลโว่ 240 GL ปี 1993” บ่อยครั้งยังพึ่งบริการรถเมล์ แถมใช้บัตรผู้สูงอายุลดราคาอีก ทำอย่างนี้เพราะเกรงใจลูกค้าไอเกีย ที่ยังหาเช้ากินค่ำกันอยู่เลย!!
น่ายกย่องอีกรายเพราะรวยด้วยหยาดเหงื่อ!! ก็ต้อง “ลีกา-ชิง” มหาเศรษฐีพันล้านของฮ่องกง ขึ้นป้ายรวยที่สุดอันดับ 10 ของโลก มีสินทรัพย์ 18.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ กว่าจะกลายเป็นผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในเอเชีย เจ้าสัวใหญ่วัย 78 ผ่านความลำเค็ญมาเยอะ ถูกบังคับให้ออกจากโรงเรียนตั้งแต่อายุ 12 ปี และเข้าทำงานในโรงงานพลาสติก เพื่อหาเงินเลี้ยงครอบครัว แต่พออายุได้ 22 เขาก็มีโรงงานพลาสติกเป็นของตัวเอง!! และเพราะสู้ยิบตาไม่ยอมแพ้ความจน เขาจึงสร้างอาณาจักรธุรกิจได้สำเร็จ ปัจจุบันรั้งตำแหน่งแชร์แมนบริษัท “เฉิงกง โฮลดิ้งส์” บริหารธุรกิจหลายด้าน ทั้งธนาคาร, ก่อสร้าง, อสังหาริมทรัพย์, พลาสติก, มือถือ, ดาวเทียมโทรทัศน์, โรงงานปูนซีเมนต์, ซุปเปอร์มาร์เกต, ร้านขายยา, โรงแรม, รถไฟฟ้า, สนามบิน, โรงงานเหล็ก, ท่าเรือ, ชิปปิ้ง และผลิตไฟฟ้า แต่จะรวยติดเพดานขนาดไหน “ลีกา-ชิง” ก็ไม่ลืมกำพืดตัวเอง เขายังใส่รองเท้าถูกๆ, ใช้แว่นพลาสติกโหลๆ และพยายามตอบแทนสังคมด้วยการบริจาคเงินสร้างมหาวิทยาลัย
รวยเพราะฟ้าลิขิตส่งมาเกิดในครอบครัวมั่งคั่งก็มี อาทิ “คาร์ลอส สลิม เฮลู” มหาเศรษฐีรวยที่สุดของละตินอเมริกา วัย 66 เกิดมาในครอบครัวเศรษฐีไฟแนนซ์ของเม็กซิกัน แต่ร่ำรวยเพราะธุรกิจโทรคมนาคมที่สร้างเองกับมือในชื่อบริษัท “แซคส์ อินส์” ดำเนินธุรกิจโทรศัพท์บ้าน และอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย รวมถึงบริษัทบริการทางการเงิน ธุรกิจถนัดของครอบครัว และสายการบินโลว์ คอสต์ เขากลายเป็น บิลเลี่ยนแนร์รวยที่สุดอันดับ 3 ของโลก เพราะหาเงินเก่งมีสินทรัพย์ 30 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ!!
“ลักศมี มิททาล” นักอุตสาหกรรมพันล้านของอินเดีย ติดลิสต์รวยที่สุดอันดับ 5 ของโลก ด้วยสินทรัพย์ 23.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพราะได้สายป่านจากธุรกิจค้าเหล็กที่พ่อวางไว้ “มิททาล สตีล คอมปานี” เป็นผู้ผลิตเหล็กยักษ์ใหญ่ที่สุดของโลก เมื่อถึงจังหวะรับช่วงต่อ บิลเลี่ยนแนร์วัยย่าง 56 ก็อาสาบุกตลาดต่างประเทศจนสำเร็จ!! ด้วยความที่เกิดมาเป็นกุมารเศรษฐี การใช้ชีวิตของเขาจึงอู้ฟู่ตามไปด้วย เมื่อปี 2003 เขาซื้อแมนชั่นหรูในเขตเคนซิงตัน พาเลซ การ์เดนส์ ประเทศอังกฤษ ด้วยราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์กว่า 128 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ!! และปีต่อมายังทุ่มงบ 60 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จัดงานแต่งงานโคตรเว่อร์ให้ลูกสาว จนเป็นข่าวครึกโครมไปทั่ว!!
ตัวอย่างคนรวยเพราะเกิดในตระกูลดังยังรวมถึงนักธุรกิจชาวฝรั่งเศส “แบร์นาร์ด อาร์โนลต์” ประธานบริหารกลุ่มธุรกิจสินค้าแบรนด์เนม LVMH (มีหลุยส์ วิตตองเป็นหัวหอก) ติดโผคนรวยที่สุดอันดับ 7 ของโลก มีสินทรัพย์ 21.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ, “เจ้าชายอัลวาลีด” พระนัดดาของกษัตริย์อับดุลเลาะห์แห่งซาอุดีอาระเบีย พระชนม์ 51 ชันษา ร่ำรวยอันดับ 8 ของโลก ด้วยสินทรัพย์ 20 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ รายนี้ไม่ยุ่งการเมือง มุ่งสร้างธุรกิจอินเตอร์ในนามบริษัท “คิงดอม โฮลดิ้งส์ คอมปานี” ร่ำรวยเพราะซื้อหุ้นเก็งกำไร และกว้านซื้อกิจการโรงแรมห้าดาวทั่วโลก อีกหนึ่งคนรวยวาสนาดีก็คือ “เคนเนธ ธอมสัน” นักธุรกิจชาวแคนาดา วัย 83 ปี ผู้สืบทอดธุรกิจ “ธอมสัน คอร์เปอเรชั่น” เจ้าธุรกิจมิเดีย และบริการข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่ำรวยเป็นอันดับ 9 ของโลก ด้วยทรัพย์สิน 19.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
จะรวยแบบมีสาระ หรือฟุ้งเฟ้อไม่บันยะบันยัง ก็ไม่ว่ากันอยู่แล้ว...ถ้าหามาได้อย่างสุจริต มิใช่โกงกินบ้านเมือง!!
คิดทุกคำที่พูด แต่อย่าพูดทุกคำที่คิด
ที่มาwww.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=banprak&id=67 - 28k
เห็นบ้านหลังบะเริ่มเฮิ่มของ “บิล เกทส์” เจ้าพ่อไมโครซอฟต์ ต้องยอมรับว่าสมฐานะ อภิมหาเศรษฐีอันดับหนึ่งของโลก มีทรัพย์สิน 50 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ...จะบ้าตาย!! คฤหาสน์ของบิลเลี่ยนแนร์ไฮเทค ราคาเฉียด 125 ล้านยูเอสดอลลาร์...เป็นบ้านโคตรแพงที่สุดหลังหนึ่งของโลก!! ตั้งอยู่บนทำเลทองเนินเขาริมทะเลสาบเลค วอชิงตัน ใกล้กับเมืองซีแอตเทิล มีเนื้อที่กว้างขวาง 66,000 ตารางฟุต เครื่องอำนวยความสะดวกครบครัน รวมถึงสระว่ายน้ำขนาด 60 ฟุต, ห้องกินข้าวใหญ่เว่อร์ กว่า 1,000 ตารางฟุต และห้องสมุดส่วนตัว อู้ฟู่ขนาดนี้ แต่ครอบครัวเดอะเกทส์ยังถ่อมตัวว่า มีกินมีใช้ธรรมดาๆ!! ไม่นับรวมถึงบ้านพักตากอากาศสุดหรูอีกหลังบนเกาะมัสติก... สงสัยจะไม่รู้ตัวว่ากำลังรวยล้นฟ้าท่วมแผ่นดิน?!
สะกดรอยตามดูการใช้ชีวิตของ “พ่อมดไอที” วัย 50 ก็เป็นจริงดังคำร่ำลือ!! เขาไม่ใช่คนขี้ตืด แต่ก็ไม่ฟุ้งเฟ้อจนคนหมั่นไส้!!บิลเลี่ยนแนร์นัมเบอร์วันของโลก ยอมเสียเงินกับเรื่องใหญ่ๆ ไม่กี่อย่าง เขาคลั่งไคล้รถพอร์ช ซื้อไว้ 2 คันคือ “พอร์ช 911 คอนเวิร์ตทิเบิล ปี 1999” ใช้ประจำวัน และ “พอร์ช 959 คูเป้ ปี 1988” คันนี้ไว้ซิ่งแก้เครียด!! นอกนั้นก็เป็นของสะสมชิวๆ ประเภทภาพเขียนศิลปินดังๆ ระดับโลก ชิ้นหนึ่งไม่กี่ร้อยล้านดอลลาร์!! ถ้าเป็นงานอดิเรกว่างจากธุรกิจพันล้าน มหาเศรษฐีหน้าเด็กโปรดการแต่งสวน, ซิ่งเรือยอชต์ และบริจาคเงินช่วยเหลือองค์กรการกุศล กับให้ทุนวิจัยวิทยาศาสตร์...ใจบุญอย่างนี้ยังถูกจับผิดว่าเล่นบทนักบุญ เพราะอยากกลบเกลื่อนความผิดฐานผูกขาดตลาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์!!
ยังไงๆ ก็ถือว่าสมถะมาก เมื่อเทียบกับมหาเศรษฐีคนอื่นๆ ที่รวยน้อยกว่า!! ใกล้ๆ ตัวก็ต้อง คู่หูร่วมก่อตั้งไมโครซอฟต์ “พอล อัลเลน” บิลเลี่ยนแนร์อันดับ 6 ของโลก ที่นิยมสะสมบ้านหลายๆ หลัง มีทีมฟุตบอลและบาสเกตบอลของตัวเอง แถมยังเป็นเจ้าของยานอวกาศสเปซ ชิพ วัน เขาแก่กว่า “บิล เกทส์” 3 ปีเป็นคนยุให้เพื่อนรักดร็อปเรียนตามอย่างตัวเองมาร่วมก่อตั้งไมโครซอฟต์... ก่อร่างสร้างตัวถึงปัจจุบันหาเงินได้ 22 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ แต่เขายังโสดสนิท ไม่มีคนช่วยใช้เงิน!! เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นดรีมเวิร์คส์ อานิเมชั่น และเป็นเจ้าของบริษัทบริหารโปรเจกต์ “วัลแคน อินส์” เป็นเจ้าของนิตยสารกีฬาชื่อดัง และมีเรือยอชต์ส่วนตัวชื่อ “อ็อกโตปุส” ขนาดใหญ่อันดับ 4 ของโลก!! ไลฟ์สไตล์คู่นี้ต่างกันสุดขั้ว แต่ “พอล อัลเลน” ชอบเล่นบทนักบุญเช่นกัน เน้นบริจาคเงินช่วยเหลือคนเจ็บไข้ได้ป่วย ให้ทุนวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ยังมีมหาเศรษฐีที่สร้างตัวด้วยลำแข้งอีกหลายคน ล้วนแต่ร่ำรวยระดับท็อปเทนโลก!! ไม่ว่าจะเป็น “วอร์เรน บัฟเฟตต์” ซีอีโอบริษัทเบิร์คเชียร์ ฮาธาเวย์ ร่ำรวยที่สองของโลก มีทรัพย์สิน 42 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ!! ขึ้นชื่อว่าเป็นนักลงทุนชั้นเซียนของอเมริกา ไม่ว่าจะจับอะไรเป็นเงินเป็นทองไปหมด!! ถ้ากางบัญชีทรัพย์สินของบริษัทเบิร์คเชียร์ฯ ซึ่งเขาถือหุ้นกว่า 38% คงถึงบางอ้อว่า เหตุใดซีอีโอวัย 75 ถึงรวยได้รวยดี!! ธุรกิจหลักๆ ของบริษัท โฟกัสที่บิสเนสประกันภัย, ผลิตลูกอม, ค้าปลีก, หนังสือพิมพ์, ธุรกิจการบิน, ขายเฟอร์นิเจอร์แต่งบ้าน, สารานุกรม, อุปกรณ์ทำความสะอาดบ้าน, ผลิตและจำหน่ายชุดยูนิฟอร์ม, เครื่องประดับอัญมณี รวมทั้งผลิต, นำเข้า และขายอุปกรณ์รองเท้า บริษัทมหาชนใหญ่ที่สุดในโลกแห่งนี้ ยังมีพอร์ตการลงทุนใหญ่โต ฟันกำไรจากหุ้นเจ๋งๆ เป็นกอบเป็นกำ!!
เห็นรวยๆ อย่างนี้ก็เถอะ “คุณปู่วอร์เรน” ใช้ชีวิตสมถะและขี้เหนียวสุดๆ ทุกวันนี้กินเงินเดือนบริษัทตัวเองปีละแสนดอลลาร์สหรัฐฯ และยังอาศัยอยู่บ้านหลังเก่าแถบชานเมือง โอมาฮ่า ซื้อตั้งแต่ปี 1957 ในราคา 31,500 ดอลลาร์สหรัฐฯ!! ส่วนรถยนต์ก็มัธยัสถ์สมกับนิสัย ขับ “ลินคอล์น ทาวน์ คาร์ซิกเนเจอร์ ซีรีย์ส์ ปี 2001” คันยาวเท่าเรือ!!
ถึงจะรวยเป็นอันดับ 4 ของโลก มีทรัพย์สิน 28 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ แต่ “อิงวาร์ แคมพราด” คุณปู่ชาวสวีเดน ผู้ก่อตั้งบริษัทไอเกีย แบรนด์เฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ในบ้านใหญ่สุดของโลก ก็เป็นแบบอย่างที่ดีเรื่องการใช้ชีวิตติดดิน!! คุณปู่วัย 79 บุกเบิกสร้างแบรนด์ไอเกียมาด้วยตัวเอง เริ่มต้นจากขายเฟอร์นิเจอร์ จากนั้นค่อยๆ ผลิตเฟอร์นิเจอร์ดีไซน์เก๋ๆ ราคาคุ้มค่าเงิน กลายเป็นขวัญใจคนรักบ้านทั่วโลก ปัจจุบันมีสาขาอยู่ 33 ประเทศ ไหนๆ ก็ร่ำรวยมาจากคนเบี้ยน้อยหอยน้อย “คุณปู่อิงวาร์” จึงตั้งใจว่า ชีวิตนี้จะไม่ใส่สูทเบ่งความรวย, งดอาหารเหลา ฟาดแต่เมนูพื้นๆ, ไม่นอนโรงแรมหรู และบินชั้นประหยัดสถานเดียว ส่วนรถประจำตำแหน่งก็แสนมัธยัสถ์ คุณปู่ยอดเค็มขับ “วอลโว่ 240 GL ปี 1993” บ่อยครั้งยังพึ่งบริการรถเมล์ แถมใช้บัตรผู้สูงอายุลดราคาอีก ทำอย่างนี้เพราะเกรงใจลูกค้าไอเกีย ที่ยังหาเช้ากินค่ำกันอยู่เลย!!
น่ายกย่องอีกรายเพราะรวยด้วยหยาดเหงื่อ!! ก็ต้อง “ลีกา-ชิง” มหาเศรษฐีพันล้านของฮ่องกง ขึ้นป้ายรวยที่สุดอันดับ 10 ของโลก มีสินทรัพย์ 18.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ กว่าจะกลายเป็นผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในเอเชีย เจ้าสัวใหญ่วัย 78 ผ่านความลำเค็ญมาเยอะ ถูกบังคับให้ออกจากโรงเรียนตั้งแต่อายุ 12 ปี และเข้าทำงานในโรงงานพลาสติก เพื่อหาเงินเลี้ยงครอบครัว แต่พออายุได้ 22 เขาก็มีโรงงานพลาสติกเป็นของตัวเอง!! และเพราะสู้ยิบตาไม่ยอมแพ้ความจน เขาจึงสร้างอาณาจักรธุรกิจได้สำเร็จ ปัจจุบันรั้งตำแหน่งแชร์แมนบริษัท “เฉิงกง โฮลดิ้งส์” บริหารธุรกิจหลายด้าน ทั้งธนาคาร, ก่อสร้าง, อสังหาริมทรัพย์, พลาสติก, มือถือ, ดาวเทียมโทรทัศน์, โรงงานปูนซีเมนต์, ซุปเปอร์มาร์เกต, ร้านขายยา, โรงแรม, รถไฟฟ้า, สนามบิน, โรงงานเหล็ก, ท่าเรือ, ชิปปิ้ง และผลิตไฟฟ้า แต่จะรวยติดเพดานขนาดไหน “ลีกา-ชิง” ก็ไม่ลืมกำพืดตัวเอง เขายังใส่รองเท้าถูกๆ, ใช้แว่นพลาสติกโหลๆ และพยายามตอบแทนสังคมด้วยการบริจาคเงินสร้างมหาวิทยาลัย
รวยเพราะฟ้าลิขิตส่งมาเกิดในครอบครัวมั่งคั่งก็มี อาทิ “คาร์ลอส สลิม เฮลู” มหาเศรษฐีรวยที่สุดของละตินอเมริกา วัย 66 เกิดมาในครอบครัวเศรษฐีไฟแนนซ์ของเม็กซิกัน แต่ร่ำรวยเพราะธุรกิจโทรคมนาคมที่สร้างเองกับมือในชื่อบริษัท “แซคส์ อินส์” ดำเนินธุรกิจโทรศัพท์บ้าน และอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย รวมถึงบริษัทบริการทางการเงิน ธุรกิจถนัดของครอบครัว และสายการบินโลว์ คอสต์ เขากลายเป็น บิลเลี่ยนแนร์รวยที่สุดอันดับ 3 ของโลก เพราะหาเงินเก่งมีสินทรัพย์ 30 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ!!
“ลักศมี มิททาล” นักอุตสาหกรรมพันล้านของอินเดีย ติดลิสต์รวยที่สุดอันดับ 5 ของโลก ด้วยสินทรัพย์ 23.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพราะได้สายป่านจากธุรกิจค้าเหล็กที่พ่อวางไว้ “มิททาล สตีล คอมปานี” เป็นผู้ผลิตเหล็กยักษ์ใหญ่ที่สุดของโลก เมื่อถึงจังหวะรับช่วงต่อ บิลเลี่ยนแนร์วัยย่าง 56 ก็อาสาบุกตลาดต่างประเทศจนสำเร็จ!! ด้วยความที่เกิดมาเป็นกุมารเศรษฐี การใช้ชีวิตของเขาจึงอู้ฟู่ตามไปด้วย เมื่อปี 2003 เขาซื้อแมนชั่นหรูในเขตเคนซิงตัน พาเลซ การ์เดนส์ ประเทศอังกฤษ ด้วยราคาแพงที่สุดในประวัติศาสตร์กว่า 128 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ!! และปีต่อมายังทุ่มงบ 60 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จัดงานแต่งงานโคตรเว่อร์ให้ลูกสาว จนเป็นข่าวครึกโครมไปทั่ว!!
ตัวอย่างคนรวยเพราะเกิดในตระกูลดังยังรวมถึงนักธุรกิจชาวฝรั่งเศส “แบร์นาร์ด อาร์โนลต์” ประธานบริหารกลุ่มธุรกิจสินค้าแบรนด์เนม LVMH (มีหลุยส์ วิตตองเป็นหัวหอก) ติดโผคนรวยที่สุดอันดับ 7 ของโลก มีสินทรัพย์ 21.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ, “เจ้าชายอัลวาลีด” พระนัดดาของกษัตริย์อับดุลเลาะห์แห่งซาอุดีอาระเบีย พระชนม์ 51 ชันษา ร่ำรวยอันดับ 8 ของโลก ด้วยสินทรัพย์ 20 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ รายนี้ไม่ยุ่งการเมือง มุ่งสร้างธุรกิจอินเตอร์ในนามบริษัท “คิงดอม โฮลดิ้งส์ คอมปานี” ร่ำรวยเพราะซื้อหุ้นเก็งกำไร และกว้านซื้อกิจการโรงแรมห้าดาวทั่วโลก อีกหนึ่งคนรวยวาสนาดีก็คือ “เคนเนธ ธอมสัน” นักธุรกิจชาวแคนาดา วัย 83 ปี ผู้สืบทอดธุรกิจ “ธอมสัน คอร์เปอเรชั่น” เจ้าธุรกิจมิเดีย และบริการข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่ำรวยเป็นอันดับ 9 ของโลก ด้วยทรัพย์สิน 19.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
จะรวยแบบมีสาระ หรือฟุ้งเฟ้อไม่บันยะบันยัง ก็ไม่ว่ากันอยู่แล้ว...ถ้าหามาได้อย่างสุจริต มิใช่โกงกินบ้านเมือง!!
คิดทุกคำที่พูด แต่อย่าพูดทุกคำที่คิด
ที่มาwww.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=banprak&id=67 - 28k
วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2552
ภาวะเศรษฐกิจโลกและผลกระทบไทย
ภาวะเศรษฐกิจโลกปี 2550 และผลกระทบต่อไทย(World Economy in 2007 and its effects on Thailand)
เรียนมิตรสหายที่เคารพรัก ปีพ.ศ. 2550 เศรษฐกิจโลกชะลอตัว จะกระทบการส่งออกไทย ภาครัฐควรเร่งพิจารณางบประมาณ ปีพ.ศ. 2550 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และสนับสนุนการสำรวจตลาดใหม่
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) ได้ประมาณการเศรษฐกิจโลกปี พ.ศ.2550 ไว้ว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 ซึ่งชะลอตัวลงจากปี พ.ศ.2549 ที่ประมาณการว่าจะขยายตัว ร้อยละ 5.1 และมีความเป็นไปได้ที่จะเติบโตเพียงร้อยละ 3.25 หรือต่ำกว่านั้น หากตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐชะลอตัวรุนแรงกว่าที่คาด
นอกจากนี้ ไอเอ็มเอฟยังประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2550 จะขยายตัวเพียงร้อยละ 2.9 ลดลงจากร้อยละ 3.4 ในปีพ.ศ.2549 ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของ เจพี มอร์แกน ที่ชี้ว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ เริ่มถดถอย เนื่องจากตลาดอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเคยเป็นปัจจัยที่ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวกำลังอยู่ในช่วงขาลง ส่วนอัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับสูงเพื่อป้องกันภาวะเงินเฟ้อที่ยังน่าเป็นห่วง
ในขณะที่เศรษฐกิจสหภาพยุโรป (อียู) ขยายตัวถึงร้อยละ 3.7 ในไตรมาส 2 ปี พ.ศ.2549 ซึ่งคาดว่าเป็นจุดที่สูงสุด และต่อจากนี้จะเริ่มชะลอตัว โดยในปี พ.ศ.2550 คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวเพียงร้อยละ 2.5 ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายการคลังที่เข้มงวด เพื่อแก้ไขปัญหาขาดดุลงบประมาณและหนี้ภาครัฐที่อยู่ในระดับสูง และการปรับขึ้นดอกเบี้ยที่จะเริ่มส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจช่วงปลายปี พ.ศ.2549 ต่อเนื่องไปจนถึงปี พ.ศ.2550
ส่วนญี่ปุ่นที่เป็นประเทศคู่ค้าที่สำคัญอีกประเทศหนึ่ง กำลังพิจารณาลดเพดานอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูงสุดที่ผู้ปล่อยสินเชื่อจะเก็บได้จากร้อยละ 29.2 เหลือร้อยละ 15–20 ซึ่งอาจทำให้นักลงทุนต่างชาติไม่พอใจและถอนการลงทุนกลับ ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงอาจจะทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ.2550 ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 1 จากเดิมที่ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.5
เศรษฐกิจของจีนมีแนวโน้มชะลอตัวเช่นกัน เนื่องจากเศรษฐกิจจีนขยายตัวสูงถึงร้อยละ 11.3 ในไตรมาส 2 ของปีนี้ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงมาก ทำให้ธนาคารกลางของจีนต้องปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้น เพื่อควบคุมเศรษฐกิจให้ขยายตัวช้าลง และป้องกันภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ที่อาจเกิดขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัวลง จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทย เนื่องจากเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงจะบั่นทอนกำลังซื้อของผู้บริโภคในประเทศคู่ค้า ซึ่งหมายถึงอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออกจากประเทศไทยที่ลดลงด้วย การส่งออกจึงอาจไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปีหน้า
ผมจึงเห็นว่า การจัดงบประมาณขาดดุลในปี พ.ศ.2550 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจึงสามารถทำได้ โดยไม่กระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมากนัก เนื่องจากแนวโน้มเงินเฟ้อปีหน้าค่อนข้างทรงตัว และหนี้สาธารณะที่ยังอยู่ในกรอบความยั่งยืนทางการคลัง นอกจากนี้ภาครัฐควรสนับสนุนการสำรวจตลาดใหม่ๆ เนื่องจากภาครัฐมีหลายช่องทางให้ทำได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าภาคเอกชน เช่น การให้สถานทูตไทยในต่างประเทศทำหน้าที่หาช่องทางตลาด การจัดทำเว็บไซต์ของสถานทูตให้เป็นแหล่งข้อมูลการค้าในต่างประเทศ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าเพียงบางประเทศ และกระจายความเสี่ยงในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจโลกชะลอตัว
ภาวะเศรษฐกิจโลกเศรษฐกิจโลกป 2550 คาดวาจะมีทิศทางเขาสูชวงชะลอตัวลง ตามการชะลอของเศรษฐกิจสหรัฐฯ โดยในไตรมาสที่ 1/2549 คาดวาเศรษฐกิจของสหรัฐฯ จะมีการขยายตัวรอยละ 2.4 ลดลงจากไตรมาสที่ 4/2549 ที่มีการขยายตัวรอยละ 2.5 โดยเปนผลมาจากภาวะขาลงของตลาดที่อยูอาศัย อุตสาหกรรมการผลิต คาเงินดอลลารที่คาออนตัวลงและการบริโภคซึ่งการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ นั้น คาดวาจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกไมมากนัก เนื่องจากเศรษฐกิจของเอเชียสวนใหญยังคงตองพึ่งพิงการสงออกสินคาไปยังสหรัฐฯโดยคาดการวาเศรษฐกิจของเอเชียในป 2550 จะมีแนวโนมขยายตัวอยูที่ระดับรอยละ 8.8 โดยมีจีนและอินเดียเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญ ซึ่งคาดวาจะมีการขยายตัวอยูที่ระดับรอยละ 10.0 และ 8.4 ตามลําดับ และสําหรับเศรษฐกิจของอาเซียนในป 2550 คาดวาจะมีการขยายตัวอยูที่รอยละ 5.5 ตารางที่ 1 ภาวะเศรษฐกิจโลกรายการหนวย2546E2547E2548E2549E2550Eการขยายตัวของปริมาณการคาโลก% 5.3 10.6 7.4 9.2 7.0 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก% 4.1 5.3 4.9 5.4 4.9 - สหรัฐอเมริกา% 2.5 3.9 3.2 3.3 2.2 - สหภาพยุโรป% 0.8 2.1 1.4 2.6 2.3 - ญี่ปุน% 1.8 2.3 1.7 2.7 2.9 - เอเชีย% 8.4 8.8 9.2 9.4 8.8 - จีน% 9.5 9.5 10.4 10.7 10.0 - อินเดีย% 7.4 7.3 9.2 9.2 8.4 - อาเซียน% 5.4 5.8 5.2 5.4 5.5 ที่มา: IMF, WORLD ECONOMIC OUTLOOK, April 2007 ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 2
ภาวะเศรษฐกิจและแนวโนมของประเทศไทยไตรมาสที่ 2ภาคเกษตรกรรมGDP ภาคเกษตรกรรมไตรมาสที่ 1 ยังคงมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 1.60 แมวาผลผลิตสินคาเกษตรจะมีปริมาณลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากเปนชวงที่ผลผลิตสวนใหญหมดฤดูกาลเก็บเกี่ยว จึงทําใหมีปริมาณผลผลิตออกสูตลาดลดลงโดยเฉพาะสินคาขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสําปะหลัง ในขณะที่ปจจัยทางดานราคายังคงมีการขยายตัวในระดับที่สูงไตรมาสที่ 1ยังคงมีการขยายตัว จากปริมาณผลผลิตที่ลดลงตามฤดูกาล แตระดับราคายังคงทรงตัวในระดับสูงโดยเฉพาะกลุมพืชอาหารประเด็นที่นาสนใจ- ภัยแลงในป 50 รุนแรงนอยกวาปที่แลว จากปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในหลายพื้นที่ และสงผลกระทบตอGDP ภาคเกษตรเพียงเล็กนอยจากผลผลิตที่ไดรับความเสียหาย ขณะที่ระดับราคาโดยรวมที่ยังสูงอยู- ปริมาณสุกรลนตลาดยังคงเปนปญหาสําหรับเกษตรกรสงผลใหราคาตกต่ําตั้งแตปลายปที่ผานมา คาดวาระดับราคาจะเริ่มดีขึ้นในชวงไตรมาสที่ 4 ของป จากนโยบายชวยเหลือของภาครัฐGDP ภาคเกษตร ณ ราคาปฐาน(2531)75,27893,8971.600.98020,00040,00060,00080,000100,000120,000140,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q2-10-505101520GDP ภาคเกษตร (พันลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแนวโนมไตรมาสที่ 2 สําหรับ GDP ภาคเกษตรในชวงไตรมาสที่ 2 คาดวาจะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมา แตอยางไรก็ตามยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยูคือประมาณรอยละ 0.98 หรือมีมูลคาประมาณ75,278 พันลานบาท ซึ่งเปนผลมาจากระดับราคาสินคาเกษตรที่คาดวาจะเริ่มชะลอตัวลงจากความตองการที่ลดลงของตลาดภายในประเทศและตลาดโลกแตยังคงทรงตัวในระดับสูงขณะที่ปริมาณผลผลิตสินคาเกษตรลดลงตามฤดูกาล และอัตราการขยายตัวไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนักจากชวงเดียวกันของปที่ผานมาระดับราคามีแนวโนมขยายตัวลดลงแตยังคงทรงตัวในระดับสูง ขณะที่การขยายตัวของปริมาณผลผลิตไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนักจากชวงเดียวกันของปที่ผานมาศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 3
ภาคอุตสาหกรรมGDP ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 1จะสามารถขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 4.8 เชนเดียวกันคาดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เฉลี่ยในไตรมาสแรกคาดวาจะอยูที่ระดับ180.8 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 8.23 เมื่อเทียบกับในชวงไตรมาสแรกของปที่ผานมา และในสวนของการใชกําลังการผลิต (Capacity Utilization) ภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยในชไตรมาสที่ 1 ยังสามารถขยายตัวในระดับที่ดี สืบเนื่องมาจากคําสั่งซื้อสินคาภาคอุตสาหกรรมจากตางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องวงไตรมาสแรกคาดวาจะอยูที่ระดับ 75.0 อยูในระดับที่ใกลเคียงกับการใชกําลังการผลิตในไตรมาสแรกของปที่ผานมาที่อยูที่ระดับ 75.2 ปจจัยเกื้อหนุน- ยอดคําสั่งซื้อตางประเทศยังอยูในระดับที่ดี สงผลใหอุตสาหกรรมไทยซึ่งพึ่งพอการสงออกในระดับสูงสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่องปจจัยบั่นทอน- สถานการณความไมแนนอนภายในประเทศสงผลใหประชาชนชะลอการใชจายลง- ตนทุนภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งราคาน้ํามันมีความผันผวนในระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งระดับราคาน้ํามันในไตรมาสที่ 1 มีทิศทางการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องGDP ภาคอุตสาหกรรม ณ ราคาปฐาน(2531)405,768418,0254.84.60100,000200,000300,000400,000500,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q202468101214GDP ภาคอุตสาหกรรม (พันลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)MPI และ Capacity Utilization8010012014016018020045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q250Q15060708090MPICapacity Utilizationแนวโนมไตรมาสที่ 2 สําหรับ GDP ภาคอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 คาดวาจะชะลอตัวลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 โดยคาดวาจะขยายตัวประมาณรอยละ 4.2-4.7 สืบเนื่องจากความตองการสินคาภายในประเทศที่ชะลอตัวลงเนื่องจากสถานการณทางการเมืองภายในประเทศยังมีความไมแนนอนในระดับสูง นอกจากนี้ระดับราคาน้ํามันซึ่งเปนตนทุนสําคัญอยางหนึ่งของภาคอุตสาหกรรมยังคงมีความไมแนนอนในระดับสูง โดยระดับราคาน้ํามันภายในประเทศในไตรมาสที่ 1 มีทิศทางการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง รวมถึงสถานการณคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้นคอนขางมากเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นในภูมิภาคอาจสงผลกระทบตอการสงออกของภาคอุตสาหกรรมของไทย จึงทําใหภาคอุตสาหกรรมไทยมีแนวโนมชะลอตัวลงอยางตอเนื่องในไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 2 ภาคอุตสาหกรรมชะลอตัวลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 เนื่องมาจากความตองการสินคาภายในประเทศชะลอตัวลง และระดับราคาน้ํามันยังคงทรงตัวอยูในระดับสูงศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 4
MPI Capacity Utilization อุตสาหกรรมที่มีแนวโนมดี และอุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังในไตรมาสที่ 1อุตสาหกรรม%yoy % yoy ในการพิจารณาจะพิจารณาจากอุตสาหกรรมที่มีทิศทางการปรับตัวของคาดัชนีในดานตาง ๆ ในระดับที่คอนขางดีและแยนั้นในที่นี้จะพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม การใชกําลังการผลิต โดยอุตสาหกรรมที่มีแนวโนมดีในชวงไตรมาสที่ 1ประกอบดวย อุตสาหกรรมเครื่องหนังอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส อุตสาหกรรมสูบ อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมรองเทา โดยอาจกลาวไดวาในไตรมาสที่ 1 อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกสยังคงเปนกลุมที่สรางความเติบโตใหแกภาคอุตสาหกรรมมากที่สุดเนื่องจากความตองการสินคาจากตางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องอุตสาหกรรมเดน39.68 18.7 อุตสาหกรรมเครื่องหนังอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส25.31 2.6 25.97 10.0 อุตสาหกรรมยาสูบ11.68 9.5 อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม8.15 0.6 อุตสาหกรรมรองเทาอุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร-25.34 -16.6 ในขณะที่อุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังในไตรมาสที่ 1ประกอบดวยอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบ และอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยเฉพาะอยางอุตสาหกรรมสิ่งทอซึ่งถือเปนอุตสาหกรรมที่มีน้ําหนักมากที่สุดในการคํานวณคา MPI ที่ตองเผชิญการแขงขันจากสินคาราคาถูกจากประเทศจีน และอุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบที่แมการสงออกจะยังคงทําไดอยางตอเนื่องแตการบริโภคภายในประเทศปรับตัวลดลงอยางชัดเจนอุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบ-4.50 -3.0 -4.37 0.0 อุตสาหกรรมสิ่งทอที่มา : จากการคํานวณอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสยังคงเปนอุตสาหกรรมหลักในการสรางความเติบโตของภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 1 เนื่องจากสินคาในกลุมนี้ยังคงสงออกไดในระดับที่ดี ในขณะที่อุตสาหกรรมสิ่งทอเผชิญการแขงขันที่รุนแรงจากสินคาจากประเทศจีน และอุตสาหกรรมยานยนตปริมาณการบริโภคภายในประเทศลดลงคอนขางมากศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 5
ภาคการทองเที่ยวไตรมาสที่ 1ยังคงมีการขยายตัว จากนักทองเที่ยวชาวยุโรป และตะวันออกกลาง สวนรายไดเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากจํานวนนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติไตรมาสที่ 1 คาดวามีจํานวน 3.8 ลานคน หรือขยายตัวรอยละ 4.01 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันกับปกอน แมวาจะเกิดเหตุระเบิดในชวงปใหมปนี้รวมถึงความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตก็ตาม แตก็ยังคงมีนักทองเที่ยวเขามาประเทศไทยเพิ่มขึ้นบาง โดยกลุมนักทองเที่ยวที่ลดลงคือนักทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชีย สวนนักทองเที่ยวยุโรป และอเมริกานั้นไมไดรับผลกระทบเนื่องจากมีการวางแผนจะมาเมืองไทยอยูแลว สวนรายไดจากการทองเที่ยวคาดวาประมาณ 1.43 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 12.11เทียบกับชวงเดียวกันกับปกอนประเด็นที่นาสนใจ- เหตุการณระเบิดสงผลกระทบตอจํานวนนักทองเที่ยวโดยรวมนอย กลุมที่ไดรับผลกระทบคือ ญี่ปุนมาเลเซีย สิงคโปร- รายไดจากการทองเที่ยวชะลอตัว จากภาวะเศรษฐกิจโลก และคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้นจํานวนนักทองเที่ยวและรายได300.787376.7331,441.361150.79010020030040045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q20500100015002000จํานวน: พันคนรายได: รอยลานบาทที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และการคํานวณแนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวา จํานวนนักทองเที่ยวมีประมาณ 3.1 ลานคนหรือขยายตัวรอยละ 6.79 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันกับปกอนแตต่ํากวาการขยายตัวของปกอน สวนรายไดคาดวาประมาณ1.22 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 11.19 เทียบกับชวงเดียวกันกับปกอน อาจเปนเพราะภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังไมมีปจจัยใดมากระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จึงทําใหคนมีความระมัดระวังในการใชจายมากขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหภาคการทองเที่ยวของไทยตองเรงประชาสัมพันธ รวมถึงควรมีการจัดโปรโมชั่นตางๆเพื่อกระตุนใหนักทองเที่ยวตางชาติมีความสนใจมากขึ้น เพราะการทองเที่ยวเปนแหลงรายไดตางชาติที่สําคัญของไทยอีกชองทางหนึ่งเดียวกันของปที่ผานมาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติยังคงมีการขยายตัวแตอยูในระดับต่ําเชนเดียวกับรายไดจากการทองเที่ยวที่มีการขยายตัวในระดับต่ําเชนกันศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 6
ดานการบริโภคการบริโภคภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป 2550 มีมูลคา 548 พันลานบาท ลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมาเล็กนอย แตยังมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 2.47 ซึ่งมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนมีการขยายตัวประมาณรอยละ -1.5 การใชกระแสไฟฟาขยายตัวประมาณรอยละ -2.6 ปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งขยายตัวประมาณรอยละ -24.3รถจักรยานยนตขยายตัวประมาณรอยละ -22.5 นอกจากนั้นตัวชี้วัดที่ชี้ใหเห็นวาการบริโภคมีแนวโนมลดลงคือภาษีมูลคาเพิ่มที่ยังคงมีการขยายตัวแตในอัตราที่ลดลงคือประมาณรอยละ 4.8 ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนสวนใหญยังมีความกังวลใจกับสถานการณตางๆภายในประเทศ ไมวาจะเปนระดับราคาน้ํามันที่ยังคงอยูในระดับสูง สถานการณทางการเมือง เปนตนไตรมาสที่ 1 ยังคงมีการขยายตัว แตมีแนวโนมลดลง เนื่องจากประชาชนสวนใหญยังมีความกังวลใจกับสถานการณตางๆภายในประเทศการบริโภค0200,000400,000600,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q202468การบริโภค (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวาการบริโภคภายในประเทศ ไตรมาสที่ 2 จะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ 2.1 ประกอบกับดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจทุกรายการมีสัญญาณปรับตัวลดลงในชวง 2 เดือนแรกของป2550 สะทอนใหเห็นวาความเชื่อมั่นของผูบริโภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจกําลังปรับตัวสูทิศทางขาลงอีกครั้ง หากไมมีปจจัยบวกมาสรางความเชื่อมั่นใหเกิดขึ้นอยางรวดเร็วหรือปจจัยลบเขามาเพิ่มเติมอยางตอเนื่องการบริโภคภายในประเทศยังคงมีแนวโนมขยายตัวลดลง เปนผลจากประชาชนขาดความมั่นใจในสถานการณเศรษฐกิจภายในประเทศ และรายไดที่จะไดรับในอนาคต จากปญหาตางๆศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 7
ดานการลงทุนการลงทุนภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป 2550 มีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 1.1 ซึ่งมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยมีทิศทางสอดคลองกับปริมาณจําหนายปูนซีมเมนตที่มีอัตราการเจริญเติบโตประมาณรอยละ -6.4 และปริมาณการจําหนายรถยนตเชิงพาณิชยในประเทศที่มีทิศทางการขยายตัวลดลงเชนกันคือประมาณรอยละ -28.5 ซึ่งเปนผลมาจากขาดความเชื่อมั่นสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันไตรมาสที่ 1 มีการขยายตัวลดลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ผานมา เปนผลมาจากนักลงทุนขาดความเชื่อมั่นสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยการลงทุน0100,000200,000300,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q2-50510152025การลงทุน (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)แนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวาการลงทุนภายในประเทศ ไตรมาสที่ 2 จะมีอัตราการขยายตัวทรงตัวอยูในระดับที่ลดลง และมีระดับลดลงจากชวงไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ -0.5 เนื่องจากแนวโนมอัตราการใชกําลังการผลิตโดยรวมและดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในชวงไตรมาสที่ 2 ที่ยังคงมีอัตราการขยายตัวในระดับที่ต่ํา ทั้งนี้เนื่องจากนักลงทุนยังมีความกังวลใจเกี่ยวกับสถานการณตางๆภายในประเทศรวมถึงสถานการณของตลาดโลกที่สงผลกระทบ เชน ระดับราคาน้ํามันที่ยังคงทรงตัวในระดับที่สูงการลงทุนภายในประเทศมีแนวโนมขยายตัวลดลงอีกซักระยะ เปนผลจากนักลงทุนขาดความมั่นใจในสถานการณเศรษฐกิจภายในประเทศศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 8
ภาคการคลังในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ รัฐบาลมีการใชจายมากกวารายไดที่จัดเก็บได ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากงบประมาณผูกพันในป 2549 ประกอบกับในชวงไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ รัฐบาลเริ่มที่จะมีการเรงเบิกจายมากขึ้น เพื่อกระตุนภาวะเศรษฐกิจ1. รายไดรัฐบาล (Government Revenue)1. รายไดนําสงคลัง ในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ 2550 รัฐบาลมีรายไดนําสงคลังขยายตัวรอยละ6.8 คิดเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 597,075 ลานบาท โดยรายไดที่จัดเก็บเพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน ไดแก ภาษีเบียร ภาษียาสูบ ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีสุรา ภาษีน้ํามันภาษีธุรกิจเฉพาะ และภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา นอกจากนั้นการนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ 2550 ก็สูงกวาชวงเดียวกันปที่ผานมามาก2. รายจายรัฐบาล การเบิกจายของรัฐบาลในชวง6 เดือนแรกของปงบประมาณ2550 ขยายตัวรอยละ2.6 คิดเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 737,447 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นจากการเบิกจายของรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกจํานวน 139,900 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ23.4 3. ดุลการคลังรัฐบาลตามกระแสเงินสด จากรายไดนําสงคลังและการเบิกจายเงินงบประมาณของรัฐบาลขางตนสงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 140,372 ลานบาทและเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุลจํานวน49,061 ลานบาท ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลจากการจายเงินเหลื่อมจายจากปงบประมาณ 2549 และการถอนเงินฝากนอกงบประมาณเพื่อโอนใหทองถิ่นของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ทําใหดุลการคลัง(ดุลเงินสด) ขาดดุล189,434 ลานบาท โดยรัฐบาลชดเชยการขาดดุลดวยการใชเงินคงคลังและการออกพันธบัตรและตั๋วสัญญาใชเงิน6 เดือนแรกเปลี่ยนแปลงปงบประมาณ 2550 ปงบประมาณ 2550 จํานวนรอยละ1. รายไดนําสงคลัง597,075.07 559,248.09 37,826.98 6.8 2. รายจาย737,447.30 718,466.36 18,980.94 2.6 2.1 จากงบประมาณปปจจุบัน664,082.14 632,577.36 31,504.78 5.0 2.2 จากงบประมาณปกอน73,365.16 85,889.00 -12,523.84 -14.6 3. ดุลเงินงบประมาณ-140,372.23 -159,218.27 18,846.04 -11.8 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ-49,061.47 84,524.04 -133,585.51 -158.0 5. ดุลเงินสดกอนกู(3+4) -189,433.70 -74,694.23 -114,739.47 153.6 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล105,260.00 - - - 7. ดุลเงินสดหลังกู (5+6)-84,173.70 -74,694.23 -9,479.47 12.7 ที่มา:สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมบัญชีกลางศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 9
ภาคการคาระหวางประเทศ-10,000.000.0010,000.0020,000.0030,000.0040,000.0045Q145Q346Q146Q347Q147Q348Q148Q349Q149Q350Q149Q350Q1Trade balanceExports (f.o.b.)Imports (c.i.f.)ไตรมาสที่ 1 การสงออกขยายตัวในระดับทึ่ดี ในขณะที่การนําเขาในไตรมาสที่ 1 ขยายตัวในระดับต่ํา สงผลใหคาดวาดุลการคาในไตรมาสที่ 1 จะสามารถเกินดุลไดอยางตอเนื่องการสงออกโดยรวมของประเทศในชวงไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 33,408 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 13.02 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมาการนําเขาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 30,731 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 2.55 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมา สืบเนื่องมาจากการชะลอการนําเขาสินคาในไตรมาสแรกตามวัฎจักรธุรกิจ รวมถึงความไมแนนอนในภาวะเศรษฐกิจของประเทศประชาชนชะลอการจับจายใชสอยผูประกอบการกิจการบางประเภทมีการชะลอการผลิตลงปจจัยเกือหนุน- สาเหตุที่การสงออกในไตรมาสที่ 1 ขยายตัวในระดับที่ดีเนื่องจากความตองการสินคาจากจางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องปจจัยบั่นทอน- ภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาชะลอตัวจากมูลคาการสงออกและการนําเขาขางตนสงผลใหดุลการคาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะเกินดุลการคาประมาณ 2,677 ลาน- การแข็งคาของคาเงินบาทเมี่อเทียบกับเงินตราสกุลอื่นในภูมิภาคอาจเปนอุปสรรคตอการสงออกบาง-ระดับราคาน้ํามันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นแนวโนมไตรมาสที่ 2 การสงออกในไตรมาสที่ 2 ป คาดวามูลคาการสงออกในไตรมาสที่ 2 จะชะลอตัวลงจากชวงไตรมาสที่ 1 โดยคาดวาการสงออกในไตรมาสที่ 2 จะมึมูลคาทั้งสิ้นประมาณ33,140 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวอยูที่ระดับประมาณรอยละ 6.91เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาการนําเขาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 36,729 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ12.58 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมา สืบเนื่องมาจากฐานการนําเขาในไตรมาสแรกที่อยูในระดับต่ํา และการนําเขาสินคาประเภทวัตถุดิบและสินคาทุนเพื่อเตรียมรองรับการผลิตในชวงครึ่งหลังของปสงผลใหมีการขยายตัวของการนําเขาในระดับสูงดุลการคาในไตรมาสที่ 2 ป 2550 คาดวาจะขาดดุลการคาประมาณ 3,589 ลานเหรียญสหรัฐศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 10
ภาคการเงินอัตราดอกเบี้ยอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลมีแนวโนมของการปรับตัวลดลงจากชวงปลายป 2549 โดยอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลไตรมาสที่ 1 ของป 2550 อยูที่ รอยละ 4.69 ลดลงจากไตรมาสที่ 4 ป2549 ที่อยูที่รอยละ 4.89 ทั้งนี้เนื่องจากภาวะเงินเฟอในประเทศไทยมีแนวโนมของการลดลงอยางตอเนื่อง ประกอบกับธนาคารแหงประเทศไทยตองการกระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะทางดานการลงทุน และการบริโภคภายในประเทศ สวนอัตราดอกเบี้ยชนิดอื่นๆ ยังคงมีเนวโนมของการปรับตัวลดลงเชนเกียวกันกับอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบายของภาครัฐ0123456JanAprJulOctJanAprJulOctJan1 วัน14 วันไตรมาสที่ 1 อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลปรับตัวลดลงเกือบรอยละ 0.5 ซึ่งถือเปนการสงสัญญาณชัดของธนาคารแหงประเทศไทยที่ตองการกระตุนเศรษฐกิจผานนโยบายการเงินที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมอัตราดอกเบี้ยในไตรมาสที่ 2 ป 2550พบวา มีแนวโนมของการปรับลดลงอยางตอเนื่องโดยคาดวาในไตรมาสที่ 2 ธนาคารแหงประเทศจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบาย R/P 1 วัน ลงอีกรอยละ 0.5-1.00 (โดยรวมที่ไดการปรับลดไปแลวรอยละ 0.5 ในเดือนเมษายน) เพื่อที่จะกระตุนใหเกิดการบริโภค และการลงทุนของภาคเอกชน สวนอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยคาดวาในไตรมาสที่ 2 อาจจะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูลงรอยละ0.50-0.75 ทั้งนี้เนื่องจากธนาคารพาณิชยมีสภาพคลองสวนเกินไตรมาสที่ 2คาดวา อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลจะปรับตัวลดลงอีกรอยละ0.75-1.00 และคาดวาอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยปรับตัวลดลงอีกรอยละ 0.50-0.75ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 11
ปริมาณเงินฝากและเงินใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชยไทยเงินฝาก : ปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณิชยในชวงเดือน มกราคม และกุมภาพันธ ยังคงมีอัตราการขยายตัวไดอยางตอเนื่อง ถึงแมจะมีแนวโนมของการชะลอตัวลงก็ตาม แตในเดือนกุมภาพันธนั้นปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณิชยมีแนวโนมของการขยายตัวในอัตราเรง ทั้งนี้เปนผลมาจากการที่ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจมีการฝากเงินเนื่องจากกระทรวงการคลังเบิกจายเงินงบประมาณที่คางจายใหกับองคการปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) และภาคครัวเรือนที่มีการ Lock in อัตราดอกเบี้ยเงินฝากจากการคาดการณวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะลดลงตอไปอัตราการขยายตัวของสินเชื่อและเงินฝากของระบบธนาคารพาณิชยไทย (หนวย: รอยละ) 2.191.693.944.7051015ม.ค. 2548มี.ค. 2548พ.ค.2548ก.ค.2548ก.ย. 2548พ.ย. 2548ม.ค. 2549มี.ค. 2549พ.ค.2549ก.ค.2549ก.ย.2549พ.ย. 2549ม.ค. 2550สินเชื่อเงินฝากที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยสินเชื่อ : ปริมาณสินเชื่อที่ธนาคารพาณิชยมีแนวโนมของการรชะลอตัวตั้งแตชวงครึ่งปหลังของป 2549 เปนตนมาทั้งนี้เนื่องจากสถานการณทางดานเศรษฐกิจ การเมืองของประเทศไทยมีความไมแนนอนจากสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศ ทําใหความตองการที่จะลงทุนของภาคเอกชนหรือความระมัดระวังในการปลอยสินเชื่อของธนาคารพาณิชยยังคงมีอยางตอเนื่อง สงผลใหอัตราการขยายตัวของเงินใหสินเชื่อขยายตัวเพียงรอยละ 1.69 ในเดือนกุมภาพันธ ชะลอตัวลงจากเดือนมกราคมที่ขยายตัวรอยละ 2.19 สําหรับในชวงไตรมาส 2 ของป 2550 ของปนี้คาดวาอัตราการขยายตัวของเงินฝากและสินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชยยังคงชะลอตัวอยางตอเนื่องตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว คาดวาอัตราการขยายตัวของเงินฝากจะยังคงทรงตัวอยูในระดับรอยละ 3-4 ตอเนื่อง สวนทางดานของสินเชื่อคาดวาจะยังคงทรงตัวอยูในระดับต่ําอยางตอเนื่อง ตามภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้งรอความชัดเจนในดานของแนวนโยบายและสถานการณทางการเมือง2549 2549 ม.ค. ก.พ. สินเชื่อ5,895,015 5,837,101 5,849,710 เงินฝาก 6,620,609 6,749,525 6,823,041 ไตรมาสที่ 1 ปริมาณเงินฝากและปริมาณสินเชื่อยังคมมีอัตราการขยายตัวไดอยางตอเนื่องแตมีสัญญาณของการชะลอตัวลง ทั้งนี้เปนผลเนื่องจากสถานการณความไมเชื่อมั่นไตรมาสที่ 2 ปริมาณการใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชยยังคงมีการชะลออยางตอเนื่องทั้งนี้เนื่องจากธนาคารพาณิชยยังไมแนใจในสถานการณทางดานเศรษฐกิจของประเทศไทย แตอยางไรก็ตามการออกมาตรการกระตุนเศรษฐกิจโดยใหแบงครัฐเปนผูนําการปลอยสินเชื่อมากขึ้น ก็อาจสงผลใหสินเชื่อขยายตัวไดในระดับหนึ่งศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 12
อัตราแลกเปลี่ยนคาเงินบาทตอดอลลารสหรัฐฯไตรมาสที่ 1 ยังคงแข็งคาขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา เนื่องจากมีการเก็งกําไรคาเงินบาท ผนวกกับความกังวลของผูประกอบการสงออกทําใหมีการแลกเงินบาทเพิ่มมากขึ้น จึงสงผลใหคาเงินบาทยิ่งแข็งคามากกวาที่ควรจะเปน สวนคาเงินในภูมิภาคอื่นๆแถบเอเชียดวยกันยังคงทรงตัวประเด็นที่นาสนใจไตรมาสที่ 1ยังคงแข็งคาเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ป 49 จากการเก็งกําไรคาเงินบาทและการลงทุนในตลาดหลักทรัพย- การกันสํารองรอยละ 30 ไมสามารถยับยั้งการแข็งคาของเงินบาทได- คาเงินบาทยังคงแข็งคาอยางตอเนื่อง เนื่องจากยังมีการไหลเขาสุทธิของเงินตราตางประเทศ และการออนคาลงของคาเงินดอลลารอยางตอเนื่องอัตราแลกเปลี่ยนไตรมาส1/49ไตรมาส1/50*บาท/$ 36.23 35.38 j% -4.26 -2.36 ยูโร/$ 0.77 0.75 j% -2.22 -1.61 เยน/$ 117.25 117.83 j% 1.51 0.49 หยวน/$ 7.76 7.78 j% -1.78 0.18 สิงคโปร/$ 1.54 1.51 j% -2.74 -1.62 ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมไตรมาสที่ 2คาดวาในระยะสั้น(3เดือน) คาเงินบาท ยังคงแข็งคาอยูในระดับ 34.7-35.2 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ สวนระยะยาว(1ป) จะอยูที่ระดับ 36.41 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ สําหรับกรณีที่เหตุการณตางๆไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม แตหากมีการเก็งกําไรจากกองทุนระหวางประเทศ ยอมทําใหคาเงินบาทปรับตัวแข็งคาขึ้นกวาที่คาดการณไวโดยอาจจะแข็งคาขึ้นถึง 34.5 บาทตอดอลลารสหรัฐฯศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 13
ราคาน้ํามันราคาน้ํามันในตลาดโลกในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2550คาดวายังคงปรับตัวตามสถานการณของเหตุการณ เนื่องจากมีการคาดการณอุณหภูมิของสหรัฐอเมริกาที่จะสูงขึ้น รวมถึงการคาดการณวาปริมาณความตองการน้ํามันเพื่อความอบอุนจะลดต่ําลงดวยเชนกัน นอกจากนี้ปญหาความตึงเครียดระหวางอิหรานกับคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติเรื่องการทดลองนิวเคลียรของประเทศอิหรานก็ยังคงตองติดตามอยู ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ คาดวาราคาน้ํามันดิบดูไบ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะอยูในระดับ56.00 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล โดยปรับตัวใกลเคียงกับระดับราคาน้ํามันดิบดูไบในไตรมาสที่ 1 ป 2550 ที่อยูที่ 55.10 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล และจากการที่คาเงินบาทของไทยมีการแข็งคาขึ้น สงผลใหราคาน้ํามันเบนซินและราคาน้ํามันดีเซลขายปลีกในประเทศในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะยังคงทรงตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง อาจมีการปรับราคาขึ้นไดในไตรมาสนี้ และอยูใกลเคียงกับราคาน้ํามันในชวงไตรมาสที่ 1 ของป 2550 โดยน้ํามันเบนซินจะมีราคาอยูในระดับ 26-29บาทตอลิตร ในขณะที่น้ํามันดีเซลจะมีราคาอยูในระดับ 23-26 บาทตอลิตรราคาน้ํามันในตลาดโลกในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2550 คาดวาจะปรับตัวสูงขึ้น สงผลใหราคาน้ํามันเบนซินและราคาน้ํามันดีเซลขายปลีกในประเทศในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะยังคงทรงตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง อาจมีการปรับราคาขึ้นไดในไตรมาสนี้56.055.157.866.664.757.852.955.342.140.80.020.040.060.080.0Q1.05 Q2.05 Q3.05 Q4.05 Q1.06 Q2.06 Q3.06 Q4.06 Q1.07 Q2.07Dubaiที่มา: จากการคํานวณศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 14
ความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจตาง ๆในการพิจารณาดัชนีความเชื่อมั่นจะทําการพิจารณาคาดัชนีความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจหลักที่มีการดําเนินการจัดทําโดยหนวยงานตาง ๆไดแก ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) ดําเนินการจัดทําโดยธนาคารแหงประเทศไทยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) ดําเนินการจัดทําโดยสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ดัชนีความเชื่อมั่นภาคการคาและบริการ(TSSI) ดําเนินการจัดทําโดยสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค (CCI) ดําเนินการจัดทําโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจมหาวิทยาลัยหอการคาไทยไตรมาสที่ 1คาดัชนีความเชื่อมั่นในทุกสาขาธุรกิจปรับตัวในทิศทางที่ลดลง เนื่องจากมีปจจัยลบเขามากระทบตอเศรษฐกิจของประเทศคอนขางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งสถานการณความขัดแยงทางการเมืองของกลุมการเมืองตาง ๆและสถานการณราคาน้ํามันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในไตรมาสที่ 1 ปจจัยเกื้อหนุน- การสงออกของประเทศที่ยังคงขยายตัวไดในระดับที่ดีจะสงผลดีตอภาคธุรกิจที่พึ่งพาการสงออกในระดับสูงโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมที่จะสงผลใหความเชื่อมั่นของผูประกอบการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นไดปจจัยบั่นทอน- ปญหาความไมชัดเจนทางการเมืองสงผลกระทบโดยตรงตอความเชื่อมั่นของทุกภาคธุรกิจ สงผลใหผูประกอบการชะลอการลงทุน และประชาชนชะลอการบริโภคในชวงนี้708090100110120TSSI*2CCIBSI*2TISI- คาเงินบาทที่มีแนวโนมแข็งคาขึ้นสงผลกระทบโดยตรงตการสงออกของประเทศที่จะทําไดยากขึ้น- ระดับราคาน้ํามันที่มีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการประกอบการของผูประกอบการ และสงผลกระทบตอผูบริโภคผานอํานาจซื้อที่ลดลงคาดวาคาดัชนีความเชื่อมั่นในชวงไตรมาสที่ 2 นาจะยังคงอยูในระดับที่ทรงตัวและคาดัชนีความเชื่อมั่นนาจะยังคงเคลื่อนไหวอยูในระดับที่ต่ํากวาคาฐานในทุกภาคธุรกิจ และคาดวาดัชนีความเชื่อมั่นนาจะมาอยูในระดับที่ใกลเคียงกับคาฐานหรือมีความเชื่อมั่นในระดับปกติไดในชวงไตรมาสที่ 3 ตอเนื่องไตรมาสที่4 ของป2550 ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 15
เศรษฐกิจภาพรวมผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป2550 มีมูลคา 1,056 พันลานบาท ลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมา ซึ่งเปนไปตามฤดูกาล และมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 3.8 และมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยปจจัยที่ทําใหภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวลดลงคือ ภาคการใชจายและภาคการผลิตภายในประเทศที่มีอัตราการขยายตัวที่ลดลงจากภาวะราคาน้ํามันที่มีการปรับตัวสูงขึ้นประกอบกับสถานการณการเมืองภายในประเทศที่มีผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนจากตางประเทศ และปญหาความขัดแยงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่ยังไมสามารถแกไขไดไตรมาสที่ 1 ยังคงมีการขยายตัว แตมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง เปนผลจากการขยายตัวที่ลดลงของทั้งภาคการผลิตและภาคการใชจาย3.383.770200,000400,000600,000800,0001,000,0001,200,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q20.002.004.006.008.0010.00GDP (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)แนวโนมไตรมาสที่ 2 ป 2550 คาดวาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่2 จะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ 3.4 ซึ่งเปนผลมาจากการขยายตัวของภาคการผลิตทั้งภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรมีระดับที่ลดลง ประกอบกับภาคการใชจายโดยเฉพาะภาคเอกชนมีแนวโนมลดลงจากภาวะราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่ สถานการณการเมืองภายในประเทศ และปญหาความขัดแยงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่ยังไมสามารถแกไขได ซึ่งจะสงผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนจากตางประเทศไตรมาสที่ 2 มีแนวโนมขยายตัวลดลง เปนผลจากภาคการผลิตและภาคการใชจายมีการขยายตัวลดลง ขณะปญหาสถานการณการเมืองและราคาน้ํามัน เปนปจจัยลบตอการขยายตัวศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 16
สรุปสถานการณเศรษฐกิจประเทศไทย ไตรมาสที่ 1และประมาณการแนวโนมไตรมาสที่ 2 ป 2550 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกระทรวงพาณิชยและธนาคารแหงประเทศไทยF คือคาประมาณป2550 โดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยรายการหนวย2549Q4 2550Q1(F) 2552Q2(F) เศรษฐกิจภายในประเทศGDP (ราคาปปจจุบัน)2,044,013 2,014,933 1,967,971 ลานบาทGDP (ราคาป 2531) 1,063,280 1,056,243 1,007,729 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 4.2 3.8 3.4 % 3.3 2.5 2.1 อัตราเงินเฟอ% 1.3 1.5 1.4 อัตราการวางงานอัตราการขยายตัวของภาคการผลิตภาคเกษตรกรรม(ราคาป 2531) 119,447 93,897 75,278 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 0.9 1.6 1.0 นอกภาคเกษตรกรรม (ราคาป 2531) 943,833 962,347 932,451 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 4.6 4.0 3.6 ภาคอุตสาหกรรม(ราคาป 2531) 413,998 418,025 405,768 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 5.8 4.8 4.6 ภาคการใชจายการบริโภคของเอกชน (ราคาป 2531) 550,515 547,998 561,477 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 2.5 2.3 2.1 การลงทุน(ราคาป 2531) 231,622 236,429 240,705 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 2.4 1.2 -0.5 ภาคบริการ130,856 144,136 115,079 จํานวนนักทองเที่ยวลานบาท3,656,255 3,767,329 3,007,870 รายไดจากนักทองเที่ยวคนบาท/US36.23 35.38 34.87 อัตราแลกเปลี่ยนภาคการเงิน4.894.693.50-3.75อัตราดอกบี้ยR/P 1 วัน% ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 17
แนวโนมเศรษฐกิจในประเทศป2550 สําหรับภาวะเศรษฐกิจไทยในป 2550 มีแนวโนมชะลอตัวลงเนื่องจากการเมืองไทยขาดเสถียรภาพ ตลอดจนปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่รุมเราเศรษฐกิจไทยยังคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่องไมวาจะเปนระดับราคาน้ํามัน การแข็งคาขึ้นของคาเงินบาทความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการที่อยูในระดับต่ําสุดในรอบ5 ป และสถานการณความไมสงบในเขต3 จังหวัดชายแดนภาคใตปจจัยบวกของเศรษฐกิจไทยในป2550 ที่สําคัญประกอบดวย1. เศรษฐกิจโลกและปริมาณการคาของโลกยังขยายตัวอยูในระดับใกลเคียงกับปนี้ โดยเศรษฐกิจโลกยังคงขยายตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง (โดยเฉพาะประเทศในเอเชีย) แมวาจะชะลอตัวลงเล็กนอยก็ตามกลาวคือเศรษฐกิจโลกและปริมาณการคาของโลกในป2550 ขยายตัวประมาณ4.9% และ7.0% ตามลําดับเทียบกับระดับ5.4% และ9.2% 2. อัตราดอกเบี้ยในประเทศปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง โดยในปนี้อัตราดอกเบี้ยมีโอกาสปรับตัวลดลงประมาณ1.0-1.25% 3. การใชงบประมาณขาดดุลของรัฐบาลไทยในวงเงิน1.52 ลานลานบาทซึ่งขาดดุลงบประมาณจํานวน1 แสนลานบาท โดยคาดวาจะมีการใชจายตามงบประมาณใหมไดตั้งแตตนป 2550 จะเปนปจจัยกระตุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสรางเงินหมุนเวียนใหกับระบบเศรษฐกิจไทย4. รัฐบาลพยายามกระตุนเศรษฐกิจโดยใชนโยบายการคลังและนโยบายการเงินแบบผอนคลายอยางตอเนื่องสําหรับปจจัยลบของเศรษฐกิจไทยในป2550 ที่สําคัญประกอบดวย1. สถานการณทางการเมืองที่มีความไมแนนอนสูง สงผลกระทบในเชิงลบตอความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการ2. ความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการอยูในระดับต่ําสุดในรอบ5 ปและยังไมมีแนวโนมปรับตัวดีขึ้น สงผลใหผูบริโภคชะลอการใชจายและผูประกอบการชะลอการลงทุนและการจางงานอยางตอเนื่อง3. คาเงินบาทที่มีแนวโนมทรงตัวแข็งคาในระดับเฉลี่ย35 บาทตอดอลลาร โดยคาดวาเงินบาทจะแข็งคาขึ้นตามเงินสกุลเอเชียและการออนตัวลงของดอลลารสหรัฐ สงผลใหคาเงินบาทนาจะเคลื่อนไหวในกรอบ 34.5-35.0 บาทตอดอลลารในชวงครึ่งแรกของป และเคลื่อนไหวในกรอบ35.0-35.5 บาทตอดอลลารในชวงครึ่งหลังของป ซึ่งจะสงผลกระทบในเชิงลบตอการสงออกของไทยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 18
4. ระดับราคาน้ํามันโลกระดับราคาน้ํามันในป2550 คาดวาจะทรงตัวอยูในระดับใกลเคียงกับป2549 โดยระดับราคาน้ํามันดิบโดยเฉลี่ยในป2550 คาดวาจะทรงตัวอยูในระดับ60-65 ดอลลารสหรัฐฯตอบารเรล(หรือเฉลี่ยประมาณ 63 ดอลลารสหรัฐฯตอบารเรล) ซึ่งจะสงผลใหราคาน้ํามันขายปลีกในประเทศทรงตัวใกลเคียงกับปที่ผานมา โดยคาดวาราคาน้ํามันดีเซลจะทรงตัวอยูในระดับ25-28 บาทตอลิตรและราคาน้ํามันเบนซินที่จะทรงตัวอยูในระดับ26-29 บาทตอลิตรจะสงผลกระทบตอตนทุนการผลิตและราคาสินคาปรับตัวสูงขึ้นไมมากนักศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยในป2550 ภายใตสมมติฐานวาราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกอยูในระดับ 6065 ดอลลารฯตอบารเรล และคาเงินบาทอยูในระดับ34.7-35.2 บาทตอดอลลารโดยคาดวาเศรษฐกิจไทยในปนี้มีโอกาสขยายตัวประมาณ3.5-4.0% (โดยเศรษฐกิจไทยจะขยายตัว3.4-3.8% ในชวงครึ่งแรกของป และขยายตัว3.2-4.5% ในชวงครึ่งหลังของป) ลดลงจากประมาณการเดิมที่คาดวาเศรษฐกิจไทยในปนี้มีโอกาสขยายตัวประมาณ4.0-4.5% (โดยเศรษฐกิจไทยจะขยายตัว4.0-4.5% ในชวงครึ่งแรกของป และขยายตัว4.5-5.0% ในชวงครึ่งหลังของป) - การสงออก คาดวาจะมีอัตราการขยายตัวตลอดทั้งป2550 ประมาณ 8.0-10.จ% ลดลงจากเดิมที่คาดวาขยายตัวประมาณ 9.0-11.5% สําหรับการนําเขานั้นคาดวาจะมีอัตราการขยายตัว 7.5%-9.5% ในป2550 ลดลงจากเดิมที่คาดวาขยายตัวประมาณ10.0-12.0% - ดุลการคาและดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาในป2550 ประเทศไทยจะมีดุลการคาขาดดุลประมาณ4,000-5,000 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน1.7-2.1% % ของGDP (เดิมคาดวาดุลการคาขาดดุลประมาณ 1,500-2,500 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน0.6-1.1% ของGDP) ในขณะที่ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 5,500-6,500 ลานดอลลารสหรัฐฯ หรือเกินดุลบัญชีเดินสะพัดประมาณ 2.3-2.7% ของGDP (เดิมคาดวาดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ3,000-4,000 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน1.3-2.7% ของGDP) - อัตราเงินเฟอคาดวาในป2550 อัตราเงินเฟอจะมีแนวโนมปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องจากปที่ผานมาโดยอัตราเงินเฟออยูในระดับ1.8-2.3% ลดลงจากประมาณการเดิมที่คาดวาอัตราเงินเฟออยูในระดับ2.2-2.7% ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 19
ตาราง ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทยป2550 รายการหนวย2548 2549 2550-F 2550-F (เดิม) (ปรับใหม) 1/การขยายตัวของปริมาณการคาโลก% 7.4 9.2 7.6 7.0 1/การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก% 4.9 5.4 4.9 4.9 1/-สหรัฐอเมริกา% 3.2 3.3 2.9 2.2 1/- สหภาพยุโรป% 1.3 2.6 2.0 2.3 - ญี่ปุน1/% 2.6 2.7 2.1 2.9 ราคาน้ํามัน$ ตอบารเรล53.6 64.0 61.5 63.0 GDP (ราคาปปจจุบัน) พันลานบาท7,088 7,813 8,439 8,342 GDP (ราคาป2531) พันลานบาท3,851 4,044 4,226 4,197 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ% 4.5 5.0 4.5 3.8 ภาคการผลิต(อัตราการขยายตัว) % -3.2 4.4 3.8 2.7 - ภาคเกษตรกรรม% 5.3 5.0 4.6 3.9 - นอกภาคเกษตรกรรม% 5.2 6.1 5.6 4.5 ภาคอุตสาหกรรมภาคการใชจาย(อัตราการขยายตัว) % 4.3 3.1 3.8 2.4 - การบริโภคของเอกชน% 11.1 4.0 7.6 1.2 - การลงทุนศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 20
ตาราง ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทยป2550 (ตอ)รายการหนวย2548 2549 2550-F 2550-F (เดิม) (ปรับใหม) มูลคาการสงออกลานUS $ 109,193 128,220 141,042 141,042 อัตราการขยายตัว% 15.0 17.4 10.0 10.0 มูลคาการนําเขาลานUS $ 117,722 125,975 139,203 136,557 อัตราการขยายตัว% 25.9 7.0 10.5 8.4 ดุลการคาลานUS $ -8,530 2,245 1,839 4,485 สัดสวนตอGDP % -4.8 1.1 0.8 1.9 ดุลบัญชีเดินสะพัดลานUS $ -3,714 3,240 3,339 5,985 สัดสวนตอGDP % -2.1 1.6 1.4 2.5 อัตราเงินเฟอ% 4.5 4.8 2.5 2.0 อัตราแลกเปลี่ยนบาท/ US $ 40.3 38.0 36.3 35.0 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกระทรวงพาณิชยและธนาคารแหงประเทศไทย(เฉพาะ1/ ขอมูลจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ) ราคาน้ํามันคือราคาน้ํามันดิบเฉลี่ยที่ดูไบ เบรนทและเวสตเท็กซัสF คือคาประมาณป2550 โดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
เรียนมิตรสหายที่เคารพรัก ปีพ.ศ. 2550 เศรษฐกิจโลกชะลอตัว จะกระทบการส่งออกไทย ภาครัฐควรเร่งพิจารณางบประมาณ ปีพ.ศ. 2550 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และสนับสนุนการสำรวจตลาดใหม่
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) ได้ประมาณการเศรษฐกิจโลกปี พ.ศ.2550 ไว้ว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 ซึ่งชะลอตัวลงจากปี พ.ศ.2549 ที่ประมาณการว่าจะขยายตัว ร้อยละ 5.1 และมีความเป็นไปได้ที่จะเติบโตเพียงร้อยละ 3.25 หรือต่ำกว่านั้น หากตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐชะลอตัวรุนแรงกว่าที่คาด
นอกจากนี้ ไอเอ็มเอฟยังประเมินว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2550 จะขยายตัวเพียงร้อยละ 2.9 ลดลงจากร้อยละ 3.4 ในปีพ.ศ.2549 ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของ เจพี มอร์แกน ที่ชี้ว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ เริ่มถดถอย เนื่องจากตลาดอสังหาริมทรัพย์ซึ่งเคยเป็นปัจจัยที่ทำให้เศรษฐกิจขยายตัวกำลังอยู่ในช่วงขาลง ส่วนอัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับสูงเพื่อป้องกันภาวะเงินเฟ้อที่ยังน่าเป็นห่วง
ในขณะที่เศรษฐกิจสหภาพยุโรป (อียู) ขยายตัวถึงร้อยละ 3.7 ในไตรมาส 2 ปี พ.ศ.2549 ซึ่งคาดว่าเป็นจุดที่สูงสุด และต่อจากนี้จะเริ่มชะลอตัว โดยในปี พ.ศ.2550 คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวเพียงร้อยละ 2.5 ซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายการคลังที่เข้มงวด เพื่อแก้ไขปัญหาขาดดุลงบประมาณและหนี้ภาครัฐที่อยู่ในระดับสูง และการปรับขึ้นดอกเบี้ยที่จะเริ่มส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจช่วงปลายปี พ.ศ.2549 ต่อเนื่องไปจนถึงปี พ.ศ.2550
ส่วนญี่ปุ่นที่เป็นประเทศคู่ค้าที่สำคัญอีกประเทศหนึ่ง กำลังพิจารณาลดเพดานอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูงสุดที่ผู้ปล่อยสินเชื่อจะเก็บได้จากร้อยละ 29.2 เหลือร้อยละ 15–20 ซึ่งอาจทำให้นักลงทุนต่างชาติไม่พอใจและถอนการลงทุนกลับ ซึ่งหากเกิดขึ้นจริงอาจจะทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ.2550 ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 1 จากเดิมที่ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 2.5
เศรษฐกิจของจีนมีแนวโน้มชะลอตัวเช่นกัน เนื่องจากเศรษฐกิจจีนขยายตัวสูงถึงร้อยละ 11.3 ในไตรมาส 2 ของปีนี้ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงมาก ทำให้ธนาคารกลางของจีนต้องปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้น เพื่อควบคุมเศรษฐกิจให้ขยายตัวช้าลง และป้องกันภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ที่อาจเกิดขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัวลง จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทย เนื่องจากเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงจะบั่นทอนกำลังซื้อของผู้บริโภคในประเทศคู่ค้า ซึ่งหมายถึงอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออกจากประเทศไทยที่ลดลงด้วย การส่งออกจึงอาจไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปีหน้า
ผมจึงเห็นว่า การจัดงบประมาณขาดดุลในปี พ.ศ.2550 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจึงสามารถทำได้ โดยไม่กระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมากนัก เนื่องจากแนวโน้มเงินเฟ้อปีหน้าค่อนข้างทรงตัว และหนี้สาธารณะที่ยังอยู่ในกรอบความยั่งยืนทางการคลัง นอกจากนี้ภาครัฐควรสนับสนุนการสำรวจตลาดใหม่ๆ เนื่องจากภาครัฐมีหลายช่องทางให้ทำได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าภาคเอกชน เช่น การให้สถานทูตไทยในต่างประเทศทำหน้าที่หาช่องทางตลาด การจัดทำเว็บไซต์ของสถานทูตให้เป็นแหล่งข้อมูลการค้าในต่างประเทศ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าเพียงบางประเทศ และกระจายความเสี่ยงในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจโลกชะลอตัว
ภาวะเศรษฐกิจโลกเศรษฐกิจโลกป 2550 คาดวาจะมีทิศทางเขาสูชวงชะลอตัวลง ตามการชะลอของเศรษฐกิจสหรัฐฯ โดยในไตรมาสที่ 1/2549 คาดวาเศรษฐกิจของสหรัฐฯ จะมีการขยายตัวรอยละ 2.4 ลดลงจากไตรมาสที่ 4/2549 ที่มีการขยายตัวรอยละ 2.5 โดยเปนผลมาจากภาวะขาลงของตลาดที่อยูอาศัย อุตสาหกรรมการผลิต คาเงินดอลลารที่คาออนตัวลงและการบริโภคซึ่งการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ นั้น คาดวาจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกไมมากนัก เนื่องจากเศรษฐกิจของเอเชียสวนใหญยังคงตองพึ่งพิงการสงออกสินคาไปยังสหรัฐฯโดยคาดการวาเศรษฐกิจของเอเชียในป 2550 จะมีแนวโนมขยายตัวอยูที่ระดับรอยละ 8.8 โดยมีจีนและอินเดียเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญ ซึ่งคาดวาจะมีการขยายตัวอยูที่ระดับรอยละ 10.0 และ 8.4 ตามลําดับ และสําหรับเศรษฐกิจของอาเซียนในป 2550 คาดวาจะมีการขยายตัวอยูที่รอยละ 5.5 ตารางที่ 1 ภาวะเศรษฐกิจโลกรายการหนวย2546E2547E2548E2549E2550Eการขยายตัวของปริมาณการคาโลก% 5.3 10.6 7.4 9.2 7.0 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก% 4.1 5.3 4.9 5.4 4.9 - สหรัฐอเมริกา% 2.5 3.9 3.2 3.3 2.2 - สหภาพยุโรป% 0.8 2.1 1.4 2.6 2.3 - ญี่ปุน% 1.8 2.3 1.7 2.7 2.9 - เอเชีย% 8.4 8.8 9.2 9.4 8.8 - จีน% 9.5 9.5 10.4 10.7 10.0 - อินเดีย% 7.4 7.3 9.2 9.2 8.4 - อาเซียน% 5.4 5.8 5.2 5.4 5.5 ที่มา: IMF, WORLD ECONOMIC OUTLOOK, April 2007 ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 2
ภาวะเศรษฐกิจและแนวโนมของประเทศไทยไตรมาสที่ 2ภาคเกษตรกรรมGDP ภาคเกษตรกรรมไตรมาสที่ 1 ยังคงมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 1.60 แมวาผลผลิตสินคาเกษตรจะมีปริมาณลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากเปนชวงที่ผลผลิตสวนใหญหมดฤดูกาลเก็บเกี่ยว จึงทําใหมีปริมาณผลผลิตออกสูตลาดลดลงโดยเฉพาะสินคาขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสําปะหลัง ในขณะที่ปจจัยทางดานราคายังคงมีการขยายตัวในระดับที่สูงไตรมาสที่ 1ยังคงมีการขยายตัว จากปริมาณผลผลิตที่ลดลงตามฤดูกาล แตระดับราคายังคงทรงตัวในระดับสูงโดยเฉพาะกลุมพืชอาหารประเด็นที่นาสนใจ- ภัยแลงในป 50 รุนแรงนอยกวาปที่แลว จากปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในหลายพื้นที่ และสงผลกระทบตอGDP ภาคเกษตรเพียงเล็กนอยจากผลผลิตที่ไดรับความเสียหาย ขณะที่ระดับราคาโดยรวมที่ยังสูงอยู- ปริมาณสุกรลนตลาดยังคงเปนปญหาสําหรับเกษตรกรสงผลใหราคาตกต่ําตั้งแตปลายปที่ผานมา คาดวาระดับราคาจะเริ่มดีขึ้นในชวงไตรมาสที่ 4 ของป จากนโยบายชวยเหลือของภาครัฐGDP ภาคเกษตร ณ ราคาปฐาน(2531)75,27893,8971.600.98020,00040,00060,00080,000100,000120,000140,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q2-10-505101520GDP ภาคเกษตร (พันลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแนวโนมไตรมาสที่ 2 สําหรับ GDP ภาคเกษตรในชวงไตรมาสที่ 2 คาดวาจะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมา แตอยางไรก็ตามยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยูคือประมาณรอยละ 0.98 หรือมีมูลคาประมาณ75,278 พันลานบาท ซึ่งเปนผลมาจากระดับราคาสินคาเกษตรที่คาดวาจะเริ่มชะลอตัวลงจากความตองการที่ลดลงของตลาดภายในประเทศและตลาดโลกแตยังคงทรงตัวในระดับสูงขณะที่ปริมาณผลผลิตสินคาเกษตรลดลงตามฤดูกาล และอัตราการขยายตัวไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนักจากชวงเดียวกันของปที่ผานมาระดับราคามีแนวโนมขยายตัวลดลงแตยังคงทรงตัวในระดับสูง ขณะที่การขยายตัวของปริมาณผลผลิตไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนักจากชวงเดียวกันของปที่ผานมาศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 3
ภาคอุตสาหกรรมGDP ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 1จะสามารถขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 4.8 เชนเดียวกันคาดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เฉลี่ยในไตรมาสแรกคาดวาจะอยูที่ระดับ180.8 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 8.23 เมื่อเทียบกับในชวงไตรมาสแรกของปที่ผานมา และในสวนของการใชกําลังการผลิต (Capacity Utilization) ภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยในชไตรมาสที่ 1 ยังสามารถขยายตัวในระดับที่ดี สืบเนื่องมาจากคําสั่งซื้อสินคาภาคอุตสาหกรรมจากตางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องวงไตรมาสแรกคาดวาจะอยูที่ระดับ 75.0 อยูในระดับที่ใกลเคียงกับการใชกําลังการผลิตในไตรมาสแรกของปที่ผานมาที่อยูที่ระดับ 75.2 ปจจัยเกื้อหนุน- ยอดคําสั่งซื้อตางประเทศยังอยูในระดับที่ดี สงผลใหอุตสาหกรรมไทยซึ่งพึ่งพอการสงออกในระดับสูงสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่องปจจัยบั่นทอน- สถานการณความไมแนนอนภายในประเทศสงผลใหประชาชนชะลอการใชจายลง- ตนทุนภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งราคาน้ํามันมีความผันผวนในระดับสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งระดับราคาน้ํามันในไตรมาสที่ 1 มีทิศทางการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องGDP ภาคอุตสาหกรรม ณ ราคาปฐาน(2531)405,768418,0254.84.60100,000200,000300,000400,000500,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q202468101214GDP ภาคอุตสาหกรรม (พันลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)MPI และ Capacity Utilization8010012014016018020045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q250Q15060708090MPICapacity Utilizationแนวโนมไตรมาสที่ 2 สําหรับ GDP ภาคอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 คาดวาจะชะลอตัวลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 โดยคาดวาจะขยายตัวประมาณรอยละ 4.2-4.7 สืบเนื่องจากความตองการสินคาภายในประเทศที่ชะลอตัวลงเนื่องจากสถานการณทางการเมืองภายในประเทศยังมีความไมแนนอนในระดับสูง นอกจากนี้ระดับราคาน้ํามันซึ่งเปนตนทุนสําคัญอยางหนึ่งของภาคอุตสาหกรรมยังคงมีความไมแนนอนในระดับสูง โดยระดับราคาน้ํามันภายในประเทศในไตรมาสที่ 1 มีทิศทางการปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง รวมถึงสถานการณคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้นคอนขางมากเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นในภูมิภาคอาจสงผลกระทบตอการสงออกของภาคอุตสาหกรรมของไทย จึงทําใหภาคอุตสาหกรรมไทยมีแนวโนมชะลอตัวลงอยางตอเนื่องในไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 2 ภาคอุตสาหกรรมชะลอตัวลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 เนื่องมาจากความตองการสินคาภายในประเทศชะลอตัวลง และระดับราคาน้ํามันยังคงทรงตัวอยูในระดับสูงศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 4
MPI Capacity Utilization อุตสาหกรรมที่มีแนวโนมดี และอุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังในไตรมาสที่ 1อุตสาหกรรม%yoy % yoy ในการพิจารณาจะพิจารณาจากอุตสาหกรรมที่มีทิศทางการปรับตัวของคาดัชนีในดานตาง ๆ ในระดับที่คอนขางดีและแยนั้นในที่นี้จะพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม การใชกําลังการผลิต โดยอุตสาหกรรมที่มีแนวโนมดีในชวงไตรมาสที่ 1ประกอบดวย อุตสาหกรรมเครื่องหนังอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส อุตสาหกรรมสูบ อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมรองเทา โดยอาจกลาวไดวาในไตรมาสที่ 1 อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกสยังคงเปนกลุมที่สรางความเติบโตใหแกภาคอุตสาหกรรมมากที่สุดเนื่องจากความตองการสินคาจากตางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องอุตสาหกรรมเดน39.68 18.7 อุตสาหกรรมเครื่องหนังอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส25.31 2.6 25.97 10.0 อุตสาหกรรมยาสูบ11.68 9.5 อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม8.15 0.6 อุตสาหกรรมรองเทาอุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร-25.34 -16.6 ในขณะที่อุตสาหกรรมที่ตองเฝาระวังในไตรมาสที่ 1ประกอบดวยอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบ และอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยเฉพาะอยางอุตสาหกรรมสิ่งทอซึ่งถือเปนอุตสาหกรรมที่มีน้ําหนักมากที่สุดในการคํานวณคา MPI ที่ตองเผชิญการแขงขันจากสินคาราคาถูกจากประเทศจีน และอุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบที่แมการสงออกจะยังคงทําไดอยางตอเนื่องแตการบริโภคภายในประเทศปรับตัวลดลงอยางชัดเจนอุตสาหกรรมยานยนตและสวนประกอบ-4.50 -3.0 -4.37 0.0 อุตสาหกรรมสิ่งทอที่มา : จากการคํานวณอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสยังคงเปนอุตสาหกรรมหลักในการสรางความเติบโตของภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 1 เนื่องจากสินคาในกลุมนี้ยังคงสงออกไดในระดับที่ดี ในขณะที่อุตสาหกรรมสิ่งทอเผชิญการแขงขันที่รุนแรงจากสินคาจากประเทศจีน และอุตสาหกรรมยานยนตปริมาณการบริโภคภายในประเทศลดลงคอนขางมากศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 5
ภาคการทองเที่ยวไตรมาสที่ 1ยังคงมีการขยายตัว จากนักทองเที่ยวชาวยุโรป และตะวันออกกลาง สวนรายไดเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากจํานวนนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติไตรมาสที่ 1 คาดวามีจํานวน 3.8 ลานคน หรือขยายตัวรอยละ 4.01 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันกับปกอน แมวาจะเกิดเหตุระเบิดในชวงปใหมปนี้รวมถึงความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตก็ตาม แตก็ยังคงมีนักทองเที่ยวเขามาประเทศไทยเพิ่มขึ้นบาง โดยกลุมนักทองเที่ยวที่ลดลงคือนักทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชีย สวนนักทองเที่ยวยุโรป และอเมริกานั้นไมไดรับผลกระทบเนื่องจากมีการวางแผนจะมาเมืองไทยอยูแลว สวนรายไดจากการทองเที่ยวคาดวาประมาณ 1.43 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 12.11เทียบกับชวงเดียวกันกับปกอนประเด็นที่นาสนใจ- เหตุการณระเบิดสงผลกระทบตอจํานวนนักทองเที่ยวโดยรวมนอย กลุมที่ไดรับผลกระทบคือ ญี่ปุนมาเลเซีย สิงคโปร- รายไดจากการทองเที่ยวชะลอตัว จากภาวะเศรษฐกิจโลก และคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้นจํานวนนักทองเที่ยวและรายได300.787376.7331,441.361150.79010020030040045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q20500100015002000จํานวน: พันคนรายได: รอยลานบาทที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และการคํานวณแนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวา จํานวนนักทองเที่ยวมีประมาณ 3.1 ลานคนหรือขยายตัวรอยละ 6.79 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันกับปกอนแตต่ํากวาการขยายตัวของปกอน สวนรายไดคาดวาประมาณ1.22 แสนลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 11.19 เทียบกับชวงเดียวกันกับปกอน อาจเปนเพราะภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังไมมีปจจัยใดมากระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จึงทําใหคนมีความระมัดระวังในการใชจายมากขึ้น ซึ่งเปนผลทําใหภาคการทองเที่ยวของไทยตองเรงประชาสัมพันธ รวมถึงควรมีการจัดโปรโมชั่นตางๆเพื่อกระตุนใหนักทองเที่ยวตางชาติมีความสนใจมากขึ้น เพราะการทองเที่ยวเปนแหลงรายไดตางชาติที่สําคัญของไทยอีกชองทางหนึ่งเดียวกันของปที่ผานมาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติยังคงมีการขยายตัวแตอยูในระดับต่ําเชนเดียวกับรายไดจากการทองเที่ยวที่มีการขยายตัวในระดับต่ําเชนกันศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 6
ดานการบริโภคการบริโภคภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป 2550 มีมูลคา 548 พันลานบาท ลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมาเล็กนอย แตยังมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 2.47 ซึ่งมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนมีการขยายตัวประมาณรอยละ -1.5 การใชกระแสไฟฟาขยายตัวประมาณรอยละ -2.6 ปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งขยายตัวประมาณรอยละ -24.3รถจักรยานยนตขยายตัวประมาณรอยละ -22.5 นอกจากนั้นตัวชี้วัดที่ชี้ใหเห็นวาการบริโภคมีแนวโนมลดลงคือภาษีมูลคาเพิ่มที่ยังคงมีการขยายตัวแตในอัตราที่ลดลงคือประมาณรอยละ 4.8 ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนสวนใหญยังมีความกังวลใจกับสถานการณตางๆภายในประเทศ ไมวาจะเปนระดับราคาน้ํามันที่ยังคงอยูในระดับสูง สถานการณทางการเมือง เปนตนไตรมาสที่ 1 ยังคงมีการขยายตัว แตมีแนวโนมลดลง เนื่องจากประชาชนสวนใหญยังมีความกังวลใจกับสถานการณตางๆภายในประเทศการบริโภค0200,000400,000600,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q202468การบริโภค (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวาการบริโภคภายในประเทศ ไตรมาสที่ 2 จะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ 2.1 ประกอบกับดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจทุกรายการมีสัญญาณปรับตัวลดลงในชวง 2 เดือนแรกของป2550 สะทอนใหเห็นวาความเชื่อมั่นของผูบริโภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจกําลังปรับตัวสูทิศทางขาลงอีกครั้ง หากไมมีปจจัยบวกมาสรางความเชื่อมั่นใหเกิดขึ้นอยางรวดเร็วหรือปจจัยลบเขามาเพิ่มเติมอยางตอเนื่องการบริโภคภายในประเทศยังคงมีแนวโนมขยายตัวลดลง เปนผลจากประชาชนขาดความมั่นใจในสถานการณเศรษฐกิจภายในประเทศ และรายไดที่จะไดรับในอนาคต จากปญหาตางๆศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 7
ดานการลงทุนการลงทุนภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป 2550 มีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 1.1 ซึ่งมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยมีทิศทางสอดคลองกับปริมาณจําหนายปูนซีมเมนตที่มีอัตราการเจริญเติบโตประมาณรอยละ -6.4 และปริมาณการจําหนายรถยนตเชิงพาณิชยในประเทศที่มีทิศทางการขยายตัวลดลงเชนกันคือประมาณรอยละ -28.5 ซึ่งเปนผลมาจากขาดความเชื่อมั่นสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันไตรมาสที่ 1 มีการขยายตัวลดลงตอเนื่องจากไตรมาสที่ผานมา เปนผลมาจากนักลงทุนขาดความเชื่อมั่นสภาวะเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยการลงทุน0100,000200,000300,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q2-50510152025การลงทุน (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)แนวโนมไตรมาสที่ 2 คาดวาการลงทุนภายในประเทศ ไตรมาสที่ 2 จะมีอัตราการขยายตัวทรงตัวอยูในระดับที่ลดลง และมีระดับลดลงจากชวงไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ -0.5 เนื่องจากแนวโนมอัตราการใชกําลังการผลิตโดยรวมและดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในชวงไตรมาสที่ 2 ที่ยังคงมีอัตราการขยายตัวในระดับที่ต่ํา ทั้งนี้เนื่องจากนักลงทุนยังมีความกังวลใจเกี่ยวกับสถานการณตางๆภายในประเทศรวมถึงสถานการณของตลาดโลกที่สงผลกระทบ เชน ระดับราคาน้ํามันที่ยังคงทรงตัวในระดับที่สูงการลงทุนภายในประเทศมีแนวโนมขยายตัวลดลงอีกซักระยะ เปนผลจากนักลงทุนขาดความมั่นใจในสถานการณเศรษฐกิจภายในประเทศศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 8
ภาคการคลังในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ รัฐบาลมีการใชจายมากกวารายไดที่จัดเก็บได ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากงบประมาณผูกพันในป 2549 ประกอบกับในชวงไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ รัฐบาลเริ่มที่จะมีการเรงเบิกจายมากขึ้น เพื่อกระตุนภาวะเศรษฐกิจ1. รายไดรัฐบาล (Government Revenue)1. รายไดนําสงคลัง ในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ 2550 รัฐบาลมีรายไดนําสงคลังขยายตัวรอยละ6.8 คิดเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 597,075 ลานบาท โดยรายไดที่จัดเก็บเพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน ไดแก ภาษีเบียร ภาษียาสูบ ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีสุรา ภาษีน้ํามันภาษีธุรกิจเฉพาะ และภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา นอกจากนั้นการนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ 2550 ก็สูงกวาชวงเดียวกันปที่ผานมามาก2. รายจายรัฐบาล การเบิกจายของรัฐบาลในชวง6 เดือนแรกของปงบประมาณ2550 ขยายตัวรอยละ2.6 คิดเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 737,447 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นจากการเบิกจายของรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกจํานวน 139,900 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ23.4 3. ดุลการคลังรัฐบาลตามกระแสเงินสด จากรายไดนําสงคลังและการเบิกจายเงินงบประมาณของรัฐบาลขางตนสงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 140,372 ลานบาทและเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุลจํานวน49,061 ลานบาท ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลจากการจายเงินเหลื่อมจายจากปงบประมาณ 2549 และการถอนเงินฝากนอกงบประมาณเพื่อโอนใหทองถิ่นของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ทําใหดุลการคลัง(ดุลเงินสด) ขาดดุล189,434 ลานบาท โดยรัฐบาลชดเชยการขาดดุลดวยการใชเงินคงคลังและการออกพันธบัตรและตั๋วสัญญาใชเงิน6 เดือนแรกเปลี่ยนแปลงปงบประมาณ 2550 ปงบประมาณ 2550 จํานวนรอยละ1. รายไดนําสงคลัง597,075.07 559,248.09 37,826.98 6.8 2. รายจาย737,447.30 718,466.36 18,980.94 2.6 2.1 จากงบประมาณปปจจุบัน664,082.14 632,577.36 31,504.78 5.0 2.2 จากงบประมาณปกอน73,365.16 85,889.00 -12,523.84 -14.6 3. ดุลเงินงบประมาณ-140,372.23 -159,218.27 18,846.04 -11.8 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ-49,061.47 84,524.04 -133,585.51 -158.0 5. ดุลเงินสดกอนกู(3+4) -189,433.70 -74,694.23 -114,739.47 153.6 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล105,260.00 - - - 7. ดุลเงินสดหลังกู (5+6)-84,173.70 -74,694.23 -9,479.47 12.7 ที่มา:สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมบัญชีกลางศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 9
ภาคการคาระหวางประเทศ-10,000.000.0010,000.0020,000.0030,000.0040,000.0045Q145Q346Q146Q347Q147Q348Q148Q349Q149Q350Q149Q350Q1Trade balanceExports (f.o.b.)Imports (c.i.f.)ไตรมาสที่ 1 การสงออกขยายตัวในระดับทึ่ดี ในขณะที่การนําเขาในไตรมาสที่ 1 ขยายตัวในระดับต่ํา สงผลใหคาดวาดุลการคาในไตรมาสที่ 1 จะสามารถเกินดุลไดอยางตอเนื่องการสงออกโดยรวมของประเทศในชวงไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 33,408 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 13.02 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมาการนําเขาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 30,731 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 2.55 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมา สืบเนื่องมาจากการชะลอการนําเขาสินคาในไตรมาสแรกตามวัฎจักรธุรกิจ รวมถึงความไมแนนอนในภาวะเศรษฐกิจของประเทศประชาชนชะลอการจับจายใชสอยผูประกอบการกิจการบางประเภทมีการชะลอการผลิตลงปจจัยเกือหนุน- สาเหตุที่การสงออกในไตรมาสที่ 1 ขยายตัวในระดับที่ดีเนื่องจากความตองการสินคาจากจางประเทศยังคงมีเขามาอยางตอเนื่องปจจัยบั่นทอน- ภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาชะลอตัวจากมูลคาการสงออกและการนําเขาขางตนสงผลใหดุลการคาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะเกินดุลการคาประมาณ 2,677 ลาน- การแข็งคาของคาเงินบาทเมี่อเทียบกับเงินตราสกุลอื่นในภูมิภาคอาจเปนอุปสรรคตอการสงออกบาง-ระดับราคาน้ํามันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นแนวโนมไตรมาสที่ 2 การสงออกในไตรมาสที่ 2 ป คาดวามูลคาการสงออกในไตรมาสที่ 2 จะชะลอตัวลงจากชวงไตรมาสที่ 1 โดยคาดวาการสงออกในไตรมาสที่ 2 จะมึมูลคาทั้งสิ้นประมาณ33,140 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวอยูที่ระดับประมาณรอยละ 6.91เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาการนําเขาในไตรมาสที่ 1 ป 2550 คาดวาจะมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 36,729 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ12.58 เมื่อเทียบกับในชวงเดียวกันของปที่ผานมา สืบเนื่องมาจากฐานการนําเขาในไตรมาสแรกที่อยูในระดับต่ํา และการนําเขาสินคาประเภทวัตถุดิบและสินคาทุนเพื่อเตรียมรองรับการผลิตในชวงครึ่งหลังของปสงผลใหมีการขยายตัวของการนําเขาในระดับสูงดุลการคาในไตรมาสที่ 2 ป 2550 คาดวาจะขาดดุลการคาประมาณ 3,589 ลานเหรียญสหรัฐศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 10
ภาคการเงินอัตราดอกเบี้ยอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลมีแนวโนมของการปรับตัวลดลงจากชวงปลายป 2549 โดยอัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลไตรมาสที่ 1 ของป 2550 อยูที่ รอยละ 4.69 ลดลงจากไตรมาสที่ 4 ป2549 ที่อยูที่รอยละ 4.89 ทั้งนี้เนื่องจากภาวะเงินเฟอในประเทศไทยมีแนวโนมของการลดลงอยางตอเนื่อง ประกอบกับธนาคารแหงประเทศไทยตองการกระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะทางดานการลงทุน และการบริโภคภายในประเทศ สวนอัตราดอกเบี้ยชนิดอื่นๆ ยังคงมีเนวโนมของการปรับตัวลดลงเชนเกียวกันกับอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบายของภาครัฐ0123456JanAprJulOctJanAprJulOctJan1 วัน14 วันไตรมาสที่ 1 อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลปรับตัวลดลงเกือบรอยละ 0.5 ซึ่งถือเปนการสงสัญญาณชัดของธนาคารแหงประเทศไทยที่ตองการกระตุนเศรษฐกิจผานนโยบายการเงินที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมอัตราดอกเบี้ยในไตรมาสที่ 2 ป 2550พบวา มีแนวโนมของการปรับลดลงอยางตอเนื่องโดยคาดวาในไตรมาสที่ 2 ธนาคารแหงประเทศจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบาย R/P 1 วัน ลงอีกรอยละ 0.5-1.00 (โดยรวมที่ไดการปรับลดไปแลวรอยละ 0.5 ในเดือนเมษายน) เพื่อที่จะกระตุนใหเกิดการบริโภค และการลงทุนของภาคเอกชน สวนอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยคาดวาในไตรมาสที่ 2 อาจจะมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกูลงรอยละ0.50-0.75 ทั้งนี้เนื่องจากธนาคารพาณิชยมีสภาพคลองสวนเกินไตรมาสที่ 2คาดวา อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตรรัฐบาลจะปรับตัวลดลงอีกรอยละ0.75-1.00 และคาดวาอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยปรับตัวลดลงอีกรอยละ 0.50-0.75ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 11
ปริมาณเงินฝากและเงินใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชยไทยเงินฝาก : ปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณิชยในชวงเดือน มกราคม และกุมภาพันธ ยังคงมีอัตราการขยายตัวไดอยางตอเนื่อง ถึงแมจะมีแนวโนมของการชะลอตัวลงก็ตาม แตในเดือนกุมภาพันธนั้นปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณิชยมีแนวโนมของการขยายตัวในอัตราเรง ทั้งนี้เปนผลมาจากการที่ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจมีการฝากเงินเนื่องจากกระทรวงการคลังเบิกจายเงินงบประมาณที่คางจายใหกับองคการปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) และภาคครัวเรือนที่มีการ Lock in อัตราดอกเบี้ยเงินฝากจากการคาดการณวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากจะลดลงตอไปอัตราการขยายตัวของสินเชื่อและเงินฝากของระบบธนาคารพาณิชยไทย (หนวย: รอยละ) 2.191.693.944.7051015ม.ค. 2548มี.ค. 2548พ.ค.2548ก.ค.2548ก.ย. 2548พ.ย. 2548ม.ค. 2549มี.ค. 2549พ.ค.2549ก.ค.2549ก.ย.2549พ.ย. 2549ม.ค. 2550สินเชื่อเงินฝากที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทยสินเชื่อ : ปริมาณสินเชื่อที่ธนาคารพาณิชยมีแนวโนมของการรชะลอตัวตั้งแตชวงครึ่งปหลังของป 2549 เปนตนมาทั้งนี้เนื่องจากสถานการณทางดานเศรษฐกิจ การเมืองของประเทศไทยมีความไมแนนอนจากสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศ ทําใหความตองการที่จะลงทุนของภาคเอกชนหรือความระมัดระวังในการปลอยสินเชื่อของธนาคารพาณิชยยังคงมีอยางตอเนื่อง สงผลใหอัตราการขยายตัวของเงินใหสินเชื่อขยายตัวเพียงรอยละ 1.69 ในเดือนกุมภาพันธ ชะลอตัวลงจากเดือนมกราคมที่ขยายตัวรอยละ 2.19 สําหรับในชวงไตรมาส 2 ของป 2550 ของปนี้คาดวาอัตราการขยายตัวของเงินฝากและสินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชยยังคงชะลอตัวอยางตอเนื่องตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว คาดวาอัตราการขยายตัวของเงินฝากจะยังคงทรงตัวอยูในระดับรอยละ 3-4 ตอเนื่อง สวนทางดานของสินเชื่อคาดวาจะยังคงทรงตัวอยูในระดับต่ําอยางตอเนื่อง ตามภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้งรอความชัดเจนในดานของแนวนโยบายและสถานการณทางการเมือง2549 2549 ม.ค. ก.พ. สินเชื่อ5,895,015 5,837,101 5,849,710 เงินฝาก 6,620,609 6,749,525 6,823,041 ไตรมาสที่ 1 ปริมาณเงินฝากและปริมาณสินเชื่อยังคมมีอัตราการขยายตัวไดอยางตอเนื่องแตมีสัญญาณของการชะลอตัวลง ทั้งนี้เปนผลเนื่องจากสถานการณความไมเชื่อมั่นไตรมาสที่ 2 ปริมาณการใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชยยังคงมีการชะลออยางตอเนื่องทั้งนี้เนื่องจากธนาคารพาณิชยยังไมแนใจในสถานการณทางดานเศรษฐกิจของประเทศไทย แตอยางไรก็ตามการออกมาตรการกระตุนเศรษฐกิจโดยใหแบงครัฐเปนผูนําการปลอยสินเชื่อมากขึ้น ก็อาจสงผลใหสินเชื่อขยายตัวไดในระดับหนึ่งศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 12
อัตราแลกเปลี่ยนคาเงินบาทตอดอลลารสหรัฐฯไตรมาสที่ 1 ยังคงแข็งคาขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา เนื่องจากมีการเก็งกําไรคาเงินบาท ผนวกกับความกังวลของผูประกอบการสงออกทําใหมีการแลกเงินบาทเพิ่มมากขึ้น จึงสงผลใหคาเงินบาทยิ่งแข็งคามากกวาที่ควรจะเปน สวนคาเงินในภูมิภาคอื่นๆแถบเอเชียดวยกันยังคงทรงตัวประเด็นที่นาสนใจไตรมาสที่ 1ยังคงแข็งคาเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ป 49 จากการเก็งกําไรคาเงินบาทและการลงทุนในตลาดหลักทรัพย- การกันสํารองรอยละ 30 ไมสามารถยับยั้งการแข็งคาของเงินบาทได- คาเงินบาทยังคงแข็งคาอยางตอเนื่อง เนื่องจากยังมีการไหลเขาสุทธิของเงินตราตางประเทศ และการออนคาลงของคาเงินดอลลารอยางตอเนื่องอัตราแลกเปลี่ยนไตรมาส1/49ไตรมาส1/50*บาท/$ 36.23 35.38 j% -4.26 -2.36 ยูโร/$ 0.77 0.75 j% -2.22 -1.61 เยน/$ 117.25 117.83 j% 1.51 0.49 หยวน/$ 7.76 7.78 j% -1.78 0.18 สิงคโปร/$ 1.54 1.51 j% -2.74 -1.62 ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทยแนวโนมไตรมาสที่ 2คาดวาในระยะสั้น(3เดือน) คาเงินบาท ยังคงแข็งคาอยูในระดับ 34.7-35.2 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ สวนระยะยาว(1ป) จะอยูที่ระดับ 36.41 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ สําหรับกรณีที่เหตุการณตางๆไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม แตหากมีการเก็งกําไรจากกองทุนระหวางประเทศ ยอมทําใหคาเงินบาทปรับตัวแข็งคาขึ้นกวาที่คาดการณไวโดยอาจจะแข็งคาขึ้นถึง 34.5 บาทตอดอลลารสหรัฐฯศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 13
ราคาน้ํามันราคาน้ํามันในตลาดโลกในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2550คาดวายังคงปรับตัวตามสถานการณของเหตุการณ เนื่องจากมีการคาดการณอุณหภูมิของสหรัฐอเมริกาที่จะสูงขึ้น รวมถึงการคาดการณวาปริมาณความตองการน้ํามันเพื่อความอบอุนจะลดต่ําลงดวยเชนกัน นอกจากนี้ปญหาความตึงเครียดระหวางอิหรานกับคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติเรื่องการทดลองนิวเคลียรของประเทศอิหรานก็ยังคงตองติดตามอยู ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ คาดวาราคาน้ํามันดิบดูไบ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะอยูในระดับ56.00 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล โดยปรับตัวใกลเคียงกับระดับราคาน้ํามันดิบดูไบในไตรมาสที่ 1 ป 2550 ที่อยูที่ 55.10 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล และจากการที่คาเงินบาทของไทยมีการแข็งคาขึ้น สงผลใหราคาน้ํามันเบนซินและราคาน้ํามันดีเซลขายปลีกในประเทศในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะยังคงทรงตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง อาจมีการปรับราคาขึ้นไดในไตรมาสนี้ และอยูใกลเคียงกับราคาน้ํามันในชวงไตรมาสที่ 1 ของป 2550 โดยน้ํามันเบนซินจะมีราคาอยูในระดับ 26-29บาทตอลิตร ในขณะที่น้ํามันดีเซลจะมีราคาอยูในระดับ 23-26 บาทตอลิตรราคาน้ํามันในตลาดโลกในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2550 คาดวาจะปรับตัวสูงขึ้น สงผลใหราคาน้ํามันเบนซินและราคาน้ํามันดีเซลขายปลีกในประเทศในไตรมาสที่ 2 ของป 2550 จะยังคงทรงตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง อาจมีการปรับราคาขึ้นไดในไตรมาสนี้56.055.157.866.664.757.852.955.342.140.80.020.040.060.080.0Q1.05 Q2.05 Q3.05 Q4.05 Q1.06 Q2.06 Q3.06 Q4.06 Q1.07 Q2.07Dubaiที่มา: จากการคํานวณศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 14
ความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจตาง ๆในการพิจารณาดัชนีความเชื่อมั่นจะทําการพิจารณาคาดัชนีความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจหลักที่มีการดําเนินการจัดทําโดยหนวยงานตาง ๆไดแก ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) ดําเนินการจัดทําโดยธนาคารแหงประเทศไทยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) ดําเนินการจัดทําโดยสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ดัชนีความเชื่อมั่นภาคการคาและบริการ(TSSI) ดําเนินการจัดทําโดยสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค (CCI) ดําเนินการจัดทําโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจมหาวิทยาลัยหอการคาไทยไตรมาสที่ 1คาดัชนีความเชื่อมั่นในทุกสาขาธุรกิจปรับตัวในทิศทางที่ลดลง เนื่องจากมีปจจัยลบเขามากระทบตอเศรษฐกิจของประเทศคอนขางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งสถานการณความขัดแยงทางการเมืองของกลุมการเมืองตาง ๆและสถานการณราคาน้ํามันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในไตรมาสที่ 1 ปจจัยเกื้อหนุน- การสงออกของประเทศที่ยังคงขยายตัวไดในระดับที่ดีจะสงผลดีตอภาคธุรกิจที่พึ่งพาการสงออกในระดับสูงโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมที่จะสงผลใหความเชื่อมั่นของผูประกอบการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นไดปจจัยบั่นทอน- ปญหาความไมชัดเจนทางการเมืองสงผลกระทบโดยตรงตอความเชื่อมั่นของทุกภาคธุรกิจ สงผลใหผูประกอบการชะลอการลงทุน และประชาชนชะลอการบริโภคในชวงนี้708090100110120TSSI*2CCIBSI*2TISI- คาเงินบาทที่มีแนวโนมแข็งคาขึ้นสงผลกระทบโดยตรงตการสงออกของประเทศที่จะทําไดยากขึ้น- ระดับราคาน้ํามันที่มีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการประกอบการของผูประกอบการ และสงผลกระทบตอผูบริโภคผานอํานาจซื้อที่ลดลงคาดวาคาดัชนีความเชื่อมั่นในชวงไตรมาสที่ 2 นาจะยังคงอยูในระดับที่ทรงตัวและคาดัชนีความเชื่อมั่นนาจะยังคงเคลื่อนไหวอยูในระดับที่ต่ํากวาคาฐานในทุกภาคธุรกิจ และคาดวาดัชนีความเชื่อมั่นนาจะมาอยูในระดับที่ใกลเคียงกับคาฐานหรือมีความเชื่อมั่นในระดับปกติไดในชวงไตรมาสที่ 3 ตอเนื่องไตรมาสที่4 ของป2550 ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 15
เศรษฐกิจภาพรวมผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่ 1 ป2550 มีมูลคา 1,056 พันลานบาท ลดลงจากชวงไตรมาสที่ผานมา ซึ่งเปนไปตามฤดูกาล และมีอัตราการขยายตัวประมาณรอยละ 3.8 และมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง โดยปจจัยที่ทําใหภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวลดลงคือ ภาคการใชจายและภาคการผลิตภายในประเทศที่มีอัตราการขยายตัวที่ลดลงจากภาวะราคาน้ํามันที่มีการปรับตัวสูงขึ้นประกอบกับสถานการณการเมืองภายในประเทศที่มีผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนจากตางประเทศ และปญหาความขัดแยงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่ยังไมสามารถแกไขไดไตรมาสที่ 1 ยังคงมีการขยายตัว แตมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง เปนผลจากการขยายตัวที่ลดลงของทั้งภาคการผลิตและภาคการใชจาย3.383.770200,000400,000600,000800,0001,000,0001,200,00045Q145Q446Q347Q248Q148Q449Q350Q20.002.004.006.008.0010.00GDP (ลานบาท)อัตราการเจริญเติบโต (รอยละ)แนวโนมไตรมาสที่ 2 ป 2550 คาดวาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ไตรมาสที่2 จะมีอัตราการขยายตัวอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปที่ผานมาคือประมาณรอยละ 3.4 ซึ่งเปนผลมาจากการขยายตัวของภาคการผลิตทั้งภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรมีระดับที่ลดลง ประกอบกับภาคการใชจายโดยเฉพาะภาคเอกชนมีแนวโนมลดลงจากภาวะราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่ สถานการณการเมืองภายในประเทศ และปญหาความขัดแยงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตที่ยังไมสามารถแกไขได ซึ่งจะสงผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนจากตางประเทศไตรมาสที่ 2 มีแนวโนมขยายตัวลดลง เปนผลจากภาคการผลิตและภาคการใชจายมีการขยายตัวลดลง ขณะปญหาสถานการณการเมืองและราคาน้ํามัน เปนปจจัยลบตอการขยายตัวศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 16
สรุปสถานการณเศรษฐกิจประเทศไทย ไตรมาสที่ 1และประมาณการแนวโนมไตรมาสที่ 2 ป 2550 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกระทรวงพาณิชยและธนาคารแหงประเทศไทยF คือคาประมาณป2550 โดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยรายการหนวย2549Q4 2550Q1(F) 2552Q2(F) เศรษฐกิจภายในประเทศGDP (ราคาปปจจุบัน)2,044,013 2,014,933 1,967,971 ลานบาทGDP (ราคาป 2531) 1,063,280 1,056,243 1,007,729 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 4.2 3.8 3.4 % 3.3 2.5 2.1 อัตราเงินเฟอ% 1.3 1.5 1.4 อัตราการวางงานอัตราการขยายตัวของภาคการผลิตภาคเกษตรกรรม(ราคาป 2531) 119,447 93,897 75,278 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 0.9 1.6 1.0 นอกภาคเกษตรกรรม (ราคาป 2531) 943,833 962,347 932,451 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 4.6 4.0 3.6 ภาคอุตสาหกรรม(ราคาป 2531) 413,998 418,025 405,768 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 5.8 4.8 4.6 ภาคการใชจายการบริโภคของเอกชน (ราคาป 2531) 550,515 547,998 561,477 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 2.5 2.3 2.1 การลงทุน(ราคาป 2531) 231,622 236,429 240,705 ลานบาท- อัตราการขยายตัว -% 2.4 1.2 -0.5 ภาคบริการ130,856 144,136 115,079 จํานวนนักทองเที่ยวลานบาท3,656,255 3,767,329 3,007,870 รายไดจากนักทองเที่ยวคนบาท/US36.23 35.38 34.87 อัตราแลกเปลี่ยนภาคการเงิน4.894.693.50-3.75อัตราดอกบี้ยR/P 1 วัน% ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 17
แนวโนมเศรษฐกิจในประเทศป2550 สําหรับภาวะเศรษฐกิจไทยในป 2550 มีแนวโนมชะลอตัวลงเนื่องจากการเมืองไทยขาดเสถียรภาพ ตลอดจนปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่รุมเราเศรษฐกิจไทยยังคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่องไมวาจะเปนระดับราคาน้ํามัน การแข็งคาขึ้นของคาเงินบาทความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการที่อยูในระดับต่ําสุดในรอบ5 ป และสถานการณความไมสงบในเขต3 จังหวัดชายแดนภาคใตปจจัยบวกของเศรษฐกิจไทยในป2550 ที่สําคัญประกอบดวย1. เศรษฐกิจโลกและปริมาณการคาของโลกยังขยายตัวอยูในระดับใกลเคียงกับปนี้ โดยเศรษฐกิจโลกยังคงขยายตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง (โดยเฉพาะประเทศในเอเชีย) แมวาจะชะลอตัวลงเล็กนอยก็ตามกลาวคือเศรษฐกิจโลกและปริมาณการคาของโลกในป2550 ขยายตัวประมาณ4.9% และ7.0% ตามลําดับเทียบกับระดับ5.4% และ9.2% 2. อัตราดอกเบี้ยในประเทศปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง โดยในปนี้อัตราดอกเบี้ยมีโอกาสปรับตัวลดลงประมาณ1.0-1.25% 3. การใชงบประมาณขาดดุลของรัฐบาลไทยในวงเงิน1.52 ลานลานบาทซึ่งขาดดุลงบประมาณจํานวน1 แสนลานบาท โดยคาดวาจะมีการใชจายตามงบประมาณใหมไดตั้งแตตนป 2550 จะเปนปจจัยกระตุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสรางเงินหมุนเวียนใหกับระบบเศรษฐกิจไทย4. รัฐบาลพยายามกระตุนเศรษฐกิจโดยใชนโยบายการคลังและนโยบายการเงินแบบผอนคลายอยางตอเนื่องสําหรับปจจัยลบของเศรษฐกิจไทยในป2550 ที่สําคัญประกอบดวย1. สถานการณทางการเมืองที่มีความไมแนนอนสูง สงผลกระทบในเชิงลบตอความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการ2. ความเชื่อมั่นของผูบริโภคและผูประกอบการอยูในระดับต่ําสุดในรอบ5 ปและยังไมมีแนวโนมปรับตัวดีขึ้น สงผลใหผูบริโภคชะลอการใชจายและผูประกอบการชะลอการลงทุนและการจางงานอยางตอเนื่อง3. คาเงินบาทที่มีแนวโนมทรงตัวแข็งคาในระดับเฉลี่ย35 บาทตอดอลลาร โดยคาดวาเงินบาทจะแข็งคาขึ้นตามเงินสกุลเอเชียและการออนตัวลงของดอลลารสหรัฐ สงผลใหคาเงินบาทนาจะเคลื่อนไหวในกรอบ 34.5-35.0 บาทตอดอลลารในชวงครึ่งแรกของป และเคลื่อนไหวในกรอบ35.0-35.5 บาทตอดอลลารในชวงครึ่งหลังของป ซึ่งจะสงผลกระทบในเชิงลบตอการสงออกของไทยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 18
4. ระดับราคาน้ํามันโลกระดับราคาน้ํามันในป2550 คาดวาจะทรงตัวอยูในระดับใกลเคียงกับป2549 โดยระดับราคาน้ํามันดิบโดยเฉลี่ยในป2550 คาดวาจะทรงตัวอยูในระดับ60-65 ดอลลารสหรัฐฯตอบารเรล(หรือเฉลี่ยประมาณ 63 ดอลลารสหรัฐฯตอบารเรล) ซึ่งจะสงผลใหราคาน้ํามันขายปลีกในประเทศทรงตัวใกลเคียงกับปที่ผานมา โดยคาดวาราคาน้ํามันดีเซลจะทรงตัวอยูในระดับ25-28 บาทตอลิตรและราคาน้ํามันเบนซินที่จะทรงตัวอยูในระดับ26-29 บาทตอลิตรจะสงผลกระทบตอตนทุนการผลิตและราคาสินคาปรับตัวสูงขึ้นไมมากนักศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยในป2550 ภายใตสมมติฐานวาราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกอยูในระดับ 6065 ดอลลารฯตอบารเรล และคาเงินบาทอยูในระดับ34.7-35.2 บาทตอดอลลารโดยคาดวาเศรษฐกิจไทยในปนี้มีโอกาสขยายตัวประมาณ3.5-4.0% (โดยเศรษฐกิจไทยจะขยายตัว3.4-3.8% ในชวงครึ่งแรกของป และขยายตัว3.2-4.5% ในชวงครึ่งหลังของป) ลดลงจากประมาณการเดิมที่คาดวาเศรษฐกิจไทยในปนี้มีโอกาสขยายตัวประมาณ4.0-4.5% (โดยเศรษฐกิจไทยจะขยายตัว4.0-4.5% ในชวงครึ่งแรกของป และขยายตัว4.5-5.0% ในชวงครึ่งหลังของป) - การสงออก คาดวาจะมีอัตราการขยายตัวตลอดทั้งป2550 ประมาณ 8.0-10.จ% ลดลงจากเดิมที่คาดวาขยายตัวประมาณ 9.0-11.5% สําหรับการนําเขานั้นคาดวาจะมีอัตราการขยายตัว 7.5%-9.5% ในป2550 ลดลงจากเดิมที่คาดวาขยายตัวประมาณ10.0-12.0% - ดุลการคาและดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาในป2550 ประเทศไทยจะมีดุลการคาขาดดุลประมาณ4,000-5,000 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน1.7-2.1% % ของGDP (เดิมคาดวาดุลการคาขาดดุลประมาณ 1,500-2,500 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน0.6-1.1% ของGDP) ในขณะที่ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 5,500-6,500 ลานดอลลารสหรัฐฯ หรือเกินดุลบัญชีเดินสะพัดประมาณ 2.3-2.7% ของGDP (เดิมคาดวาดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ3,000-4,000 ดอลลารสหรัฐฯหรือคิดเปน1.3-2.7% ของGDP) - อัตราเงินเฟอคาดวาในป2550 อัตราเงินเฟอจะมีแนวโนมปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องจากปที่ผานมาโดยอัตราเงินเฟออยูในระดับ1.8-2.3% ลดลงจากประมาณการเดิมที่คาดวาอัตราเงินเฟออยูในระดับ2.2-2.7% ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 19
ตาราง ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทยป2550 รายการหนวย2548 2549 2550-F 2550-F (เดิม) (ปรับใหม) 1/การขยายตัวของปริมาณการคาโลก% 7.4 9.2 7.6 7.0 1/การขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก% 4.9 5.4 4.9 4.9 1/-สหรัฐอเมริกา% 3.2 3.3 2.9 2.2 1/- สหภาพยุโรป% 1.3 2.6 2.0 2.3 - ญี่ปุน1/% 2.6 2.7 2.1 2.9 ราคาน้ํามัน$ ตอบารเรล53.6 64.0 61.5 63.0 GDP (ราคาปปจจุบัน) พันลานบาท7,088 7,813 8,439 8,342 GDP (ราคาป2531) พันลานบาท3,851 4,044 4,226 4,197 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ% 4.5 5.0 4.5 3.8 ภาคการผลิต(อัตราการขยายตัว) % -3.2 4.4 3.8 2.7 - ภาคเกษตรกรรม% 5.3 5.0 4.6 3.9 - นอกภาคเกษตรกรรม% 5.2 6.1 5.6 4.5 ภาคอุตสาหกรรมภาคการใชจาย(อัตราการขยายตัว) % 4.3 3.1 3.8 2.4 - การบริโภคของเอกชน% 11.1 4.0 7.6 1.2 - การลงทุนศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
--------------------------------------------------------------------------------
Page 20
ตาราง ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทยป2550 (ตอ)รายการหนวย2548 2549 2550-F 2550-F (เดิม) (ปรับใหม) มูลคาการสงออกลานUS $ 109,193 128,220 141,042 141,042 อัตราการขยายตัว% 15.0 17.4 10.0 10.0 มูลคาการนําเขาลานUS $ 117,722 125,975 139,203 136,557 อัตราการขยายตัว% 25.9 7.0 10.5 8.4 ดุลการคาลานUS $ -8,530 2,245 1,839 4,485 สัดสวนตอGDP % -4.8 1.1 0.8 1.9 ดุลบัญชีเดินสะพัดลานUS $ -3,714 3,240 3,339 5,985 สัดสวนตอGDP % -2.1 1.6 1.4 2.5 อัตราเงินเฟอ% 4.5 4.8 2.5 2.0 อัตราแลกเปลี่ยนบาท/ US $ 40.3 38.0 36.3 35.0 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกระทรวงพาณิชยและธนาคารแหงประเทศไทย(เฉพาะ1/ ขอมูลจากกองทุนการเงินระหวางประเทศ) ราคาน้ํามันคือราคาน้ํามันดิบเฉลี่ยที่ดูไบ เบรนทและเวสตเท็กซัสF คือคาประมาณป2550 โดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทยThe Center for Economic and Business Forecasting
วันพฤหัสบดีที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2552
วันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2552
blog เพื่อนๆๆ
Mr Olarik http://kong2552.blogspot.com/
film http://feemmily.blogspot.com/
กุ้ง http://gungii.blogspot.com/
อ๋อย http://oil-alala.blogspot.com/
น้ำพุ http://anupon-poo.blogspot.com/
บุ๋ม http://bcon51.blogspot.com/
กำไล http://kumlai.blogspot.com/
เค้ก http://cakeki.blogspot.com/
กะเช้า http://krachaow.blogspot.com/
ปลัก http://pukerza.blogspot.com/
แอร http://somnong.blogspot.com/
ปิ๊ก http://ookapik.blogspot.com/
แฮ๊ค http://hackzaa.blogspot.com/
เล็ก http://jakkachai.blogspot.com/
มาร์ก http://marchmero.blogspot.com/
ปอป http://poy-nana.6.blogspot.com/
เป้ย http://peiploy.blogspot.com/
จุ๊ http://tanyatip.blogspot.com/
เกษ http://missketkaew.blogspot.com/
ต๋อย http://wasnanaka.blpgspot.com/
อัญ http://yurisang.blogspot.com/
ตั๊ก http://tukjja.blogspot.com/
แนน http://whynannann.blogspot.com/
ส้ม http://malivan1012.blogspot.com/
แพท http://sukanya-pat.blogspot.com/
น้ำฝน http://namfongis.blogspot.com/
ธัญญาทิพย์ http://tanyatip49.blogspot.com/
เฟิร์น http://twiater-tasmanian.blogspot.com/
film http://feemmily.blogspot.com/
กุ้ง http://gungii.blogspot.com/
อ๋อย http://oil-alala.blogspot.com/
น้ำพุ http://anupon-poo.blogspot.com/
บุ๋ม http://bcon51.blogspot.com/
กำไล http://kumlai.blogspot.com/
เค้ก http://cakeki.blogspot.com/
กะเช้า http://krachaow.blogspot.com/
ปลัก http://pukerza.blogspot.com/
แอร http://somnong.blogspot.com/
ปิ๊ก http://ookapik.blogspot.com/
แฮ๊ค http://hackzaa.blogspot.com/
เล็ก http://jakkachai.blogspot.com/
มาร์ก http://marchmero.blogspot.com/
ปอป http://poy-nana.6.blogspot.com/
เป้ย http://peiploy.blogspot.com/
จุ๊ http://tanyatip.blogspot.com/
เกษ http://missketkaew.blogspot.com/
ต๋อย http://wasnanaka.blpgspot.com/
อัญ http://yurisang.blogspot.com/
ตั๊ก http://tukjja.blogspot.com/
แนน http://whynannann.blogspot.com/
ส้ม http://malivan1012.blogspot.com/
แพท http://sukanya-pat.blogspot.com/
น้ำฝน http://namfongis.blogspot.com/
ธัญญาทิพย์ http://tanyatip49.blogspot.com/
เฟิร์น http://twiater-tasmanian.blogspot.com/
วันพุธที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2552
ขอแนะนำตัวหน่อย
นายอภิสิทธิ์ สาสีเสาร์ อายุ 19 ปี เกิด 9 พฤษภาคม 2532
ชื่อเล่น เอ๋ย
นิสัย ร่าเริงแจ่มใส
ปัจุบันเรียนสาขาวิชาการเมืองการปกครอง
วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ที่อยู่ 84 หมู่ที่5 ต. หนองเทพ อ. โนนนารายณ์ จ. สุรินทร์ 32130
อีเมลล์ ahei51011311322@gmail.com
Tel. 0877791646
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)